Page 63 - แนวทางการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการในสาขาพยาบาลศาสตร์
P. 63
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุผลที่คาดหมาย หรือมุ่งหวังที่จะให้เกิดขึ้น จากการเสนอแนวคิด วิธีการหรือข้อเสนอเพื่อ
พัฒนางานหรือปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผลงานดังกล่าวอาจต้องแสดงได้ทั้ง
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ตลอดจนช่วงเวลาที่คาดว่าผลงานดังกล่าวจะได้รับประโยชน์ต่อ
บุคคล เป้าหมาย และเกิดผลงานที่สามารถวัดได้อย่างเป็นรูปธรรม
5. ตัวชี้วัดความส�าเร็จ ให้แสดงกิจกรรมและระบุตัวชี้วัดที่สามารถน�ามาใช้วัดผลส�าเร็จจากการเสนอแนวคิด วิธีการ
หรือข้อเสนอ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงได้อย่างชัดเจน ถูกต้องและน่าเชื่อถือ สามารถ
ตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งอาจมีการติดตามภายหลังการแต่งตั้ง
แล้ว
บรรณานุกรม เขียนบรรณานุกรมตามมาตรฐานของเอกสารทางวิชาการ ทันสมัย
ภาคผนวก ถ้ามี
กล่าวโดยสรุปได้ว่าพยาบาลวิชาชีพที่ขอประเมินผลงาน เพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งส�าหรับพยาบาลวิชาชีพ
ระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ ในสังกัดส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นั้น นอกจากต้องศึกษา
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการ
ที่ก�าหนดโดยส�านักงาน ก.พ. และโดยกระทรวงสาธารณสุขแล้ว ต้องพัฒนาเอกสารที่ส�าคัญ 3 ฉบับ ได้แก่
1) แบบแสดงรายละเอียดประกอบการขอประเมินผลงาน 2) ผลงานวิชาการ 3) ข้อเสนอแนวคิดการพัฒนาหรือ
ปรับปรุงงาน โดยมีค�าอธิบาย และแนวทางการจัดท�าเอกสารในแต่ละฉบับ ซึ่งพยาบาลวิชาชีพผู้ขอประเมินผลงาน
และกรรมการผู้ประเมินผลงานสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดท�าผลงานวิชาการและแนวทางการพิจารณา
ผลงานเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งส�าหรับพยาบาลวิชาชีพระดับช�านาญการ และช�านาญการพิเศษ ในสังกัด
ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใช้เป็นแนวทางการจัดท�าและประเมินผลงานวิชาการดังกล่าวให้เป็นไป
ในทิศทางเดียวกัน เกิดการสร้างผลงานวิชาการระดับช�านาญการ และช�านาญการพิเศษ เป็นการพัฒนาคุณภาพ
ผลงานวิชาการพยาบาลให้ได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงาน เป็นการยกระดับวิชาชีพ
การพยาบาลของประเทศ
แนวทางการจัดท�าผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการ ในสาขาพยาบาลศาสตร์
54
ส�าหรับพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข