Page 28 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 28

24
                                                           24

                                                        Abstract



                       The study was conducted to investigate the effects of stem cutting position along the
               mother plants on growth cutting of different Kalmegh cultivars. A split plot experiment in a

               randomize completely block design with four replications was employed. The main plot was
               three Kalmegh cultivars (Pachinburi, Phisanulok 5-4 and Phichit 4-4) and sub plot consisted of
               three types of position of stem cutting, namely basal, middle, and top cutting, respectively.
               The results obtained indicate that the significant differences on growth characteristics may

               have occurred due to variation in varietal characteristics. Prachinburi had the highest root and
               shoot growth significantly different (P≤0.05) from Phisanulok 5-4 and Phichit 4-4. The position
               of stem cuttings along the mother plants significantly affected on growth of Kalmegh. Stem

               cuttings from the top had the highest growth and was significantly different from stem cuttings
               collected  from  the middle  and base  of  the mother  plants. In addition, there  were  not
               significantly interaction between cultivars and cutting positions. However, top cutting position
               from Prachinburi cultivar can be recommended for propagation Kalmegh using stem cuttings.


               Keywords: cultivars, cutting positions, growth, Kalmegh

                                  บทน า                         พันธุ์ฟ้าทะลายโจร สามารถขยายพันธุ์ได้ และฟ้าทะลาย
                                                                โจรให้ผลผลิตได้ดี และมีคุณภาพตรงตามพันธุ์ที่ปลูก
                       ฟ้าทะลายโจร (Kalmegh) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า   Solikin (2018) ก็ได้ศึกษาและท าการปลูกฟ้าทะลายโจร
               Andrographis paniculata (Burm. f.) Nees อยู่ในวงศ์   โดยใช้กิ่งพันธุ์เช่นกัน ก็พบว่าฟ้าทะลายโจรสามารถ
               Acanthaceae เนื่องจากมีรสขมมาก จึงถูกขนานนามว่า   เจริญเติบโตได้ดี และมีแนวโน้มว่าจะให้ผลผลิตดีกว่าการ
               King of Bitters (Niranjan et al., 2010) ปัจจุบันได้มีการ  ใช้เมล็ดปลูก อย่างไรก็ตามการขยายพันธุ์โดยใช้กิ่งพันธุ์ใน
               ปลูกฟ้าทะลายโจร ส าหรับน าไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ยา  การปลูกนี้ กิ่งพันธุ์ที่ได้จากส่วนต่างๆ ของล าต้นที่แตกต่าง
               เพื่อใช้รักษาโรค เช่น ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ า   กัน มีผลต่อการสร้างรากและการเจริญเติบโตทางล าต้นที่
               โรคเบาหวาน ไข้หวัดใหญ่ แก้เจ็บคอ และต้านทานการ   แตกต่างกัน ซึ่งได้มีการศึกษาพบว่า พืชแต่ละชนิด การน า
               อักเสบ เป็นต้น (Alxbar, 2016; Niranjan et al., 2010)   กิ่งพันธุ์มาขยายพันธุ์มีความเหมาะสมแตกต่างกัน เช่น กิ่ง
               จึงท าให้เกษตรกรมีความสนใจ และขยายพื้นที่เพื่อ   พันธุ์บริเวณส่วนยอดของล าต้นเหมาะส าหรับใช้ปลูกกับ
               เพาะปลูกฟ้าทะลายโจร เป็นการค้ากันมากขึ้น แต่ปริมาณ  พืชพวกมันส าปะหลัง (Stephen และ Chikordi, 2015)
               ผลผลิตฟ้าทะลายโจรยังคงมีความไม่แน่นอน และมี      ส่วนกิ่งพันธุ์บริเวณกลางล าต้นเหมาะส าหรับพืชพวกกาแฟ
               คุณภาพไม่ดี (Purwanto et al., 2011) ทั้งนี้เนื่องมาจาก  (Rokhahi et al., 2016) และ Ficus carica (Yulistyani
               ฟ้าทะลายโจรมีการขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดในการปลูก ซึ่ง  et al., 2014) มากกว่าใช้ส่วนอื่นๆ ในการขยายพันธุ์
               การใช้เมล็ดปลูกมีความแปรปรวนในแปลงปลูกเป็นอย่าง  ส าหรับในฟ้าทะลายโจรได้มีการศึกษากันมาบ้าง
               มาก อีกทั้งเมล็ดมีขนาดเล็กและมีเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ า   เหมือนกัน (สมยศ และคณะ, 2562; Solikin, 2018)  แต่
               ดังนั้นผู้ท าการวิจัยจึงมีแนวความคิดว่าน่าจะมีการ  ยังมีข้อมูลที่ไม่แน่ชัดนักว่าสมควรใช้ส่วนใดในการ
               ขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจรโดยใช้กิ่งพันธุ์ (stem cutting)   ขยายพันธุ์จึงจะเหมาะสม อีกทั้งฟ้าทะลายโจรที่ปลูกใน
               น ามาปลูก เพราะมีข้อดีคือ ได้ฟ้าทะลายโจรตรงตามพันธุ์   ประเทศไทยก็มีอยู่ด้วยกันหลายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตดี และมี
               และมีความสม่ าเสมอในแปลงปลูก ดีกว่าการใช้เมล็ดปลูก   สารส าคัญในใบมาก ดังนั้นจึงได้ท าการศึกษาถึงการ
               ซึ่งสมยศ และคณะ (2562) ได้ทดลองขยายพันธุ์โดยใช้กิ่ง  ขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจร โดยใช้กิ่งพันธุ์ 3 ต าแหน่งบนล า




                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33