Page 24 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 24

20
                                                           20

               ทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (p≤0.01) โดยกลุ่มทดลองที่   ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว (อัตรา 1,000
               5 ปุ๋ยหมักเศษใบไม้และมูลค้างคาว (อัตรา 2,000     กิโลกรัมต่อไร่) มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14.66 กรัมต่อต้น ซึ่งมีค่า
               กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  า  ใกล้เคียงกับการใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 50 กิโลกรัม
               มะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) และกลุ่มทดลองที่   ต่อไร่ เพียงอย่างเดียว (ตารางที่ 2) สาเหตุที่ท าให้กลุ่ม
               6 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับ  ทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว (อัตรา
               ปุ๋ยหมักมูลสุกรและเศษพืช (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่)   2,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีจ านวนน  าหนักสดต้นรวมราก
               มีเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยค่อนข้างสูง คือ 6.19 6.14   เฉลี่ยมากกว่ากลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา
               และ 6.14 มิลลิเมตร ตามล าดับ ในขณะที่ กลุ่มทดลองที่   25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  า
               7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับ  มะพร้าว (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) ซึ่งเป็นการใช้ปุ๋ย
               ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว (อัตรา 1,000 กิโลกรัม  หมักชนิดเดียวกันแต่มีค่าแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
               ต่อไร่) มีเส้นผ่านศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 4.71   เนื่องจากอัตราส่วนที่ใช้ปุ๋ยหมักของกลุ่มทดลองที่ 7 มีการ
               มิลลิเมตร (ตารางที่ 2) ซึ่งสาเหตุที่ท าให้กลุ่มทดลองที่ 3   ลดปริมาณลงครึ่งหนึ่งและใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี ซึ่งปุ๋ยเคมีก็
               ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัม  ลดอัตราส่วนลงครึ่งหนึ่งเช่นกัน ท าให้ธาตุอาหารในกลุ่ม
               ต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 5 ปุ๋ยหมักเศษใบไม้และมูลค้างคาว   ทดลองที่ 7 ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต จะเห็นได้จาก
               (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) และกลุ่มทดลองที่ 6 ปุ๋ยเคมี  การวัดความเจริญเติบโตในด้านต่าง ๆ  กลุ่มทดลองที่ 7 มี
               สูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักมูล  ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเสมอซึ่งตรงกันข้ามกับกลุ่มทดลองที่ 3
               สุกรและเศษพืช (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีเส้นผ่าน  จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ที่ดีถึงดีมาก
               ศูนย์กลางล าต้นเฉลี่ยมากที่สุด เนื่องจากกลุ่มทดลองที่ 5
               และกลุ่มทดลองที่ 6 มีอัตราส่วนของธาตุไนโตรเจนที่มาก   8. น  าหนักแห้งต้นรวมรากเฉลี่ยของผักสลัดคอส
               โดยได้มาจากแกลบและเศษใบไม้จ านวนมากในขั นตอน            เมื่อสิ นสุดการทดลองผักสลัดคอสมีอายุ 36 วัน
               การท าปุ๋ยหมักและยังได้เพิ่มในส่วนของมูลสุกร แม้อาจจะ  หลังย้ายปลูก น าผลผลิตที่ได้จากการเก็บเกี่ยวมาอบด้วย
               ไม่มากเท่ากลุ่มทดลองที่ 3 แต่ก็มีธาตุฟอสฟอรัสที่ท า  ตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 72
               หน้าที่ช่วยเร่งการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของ  ชั่วโมง จนน  าหนักคงที่ท าการชั่งน  าหนักผลผลิต พบว่า
               ราก (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2541) ท าให้พืช   น  าหนักแห้งต้นรวมรากเฉลี่ยมีความแตกต่างกันทางสถิติ
               เจริญเติบโตได้ดี ส่วนกลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่  อย่างมีนัยส าคัญ (p≤0.05) โดยกลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมัก
               และน  ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) นั น พบว่า  หอยเชอรี่และน  ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่)
               ในหอยเชอรี่ 30 กิโลกรัม มีฮอร์โมนพืชอย่างจิบเบอเรอ  กลุ่มทดลองที่ 4 ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา
               ลิน ถึง 37.14 เปอร์เซ็นต์ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2550) ซึ่งมี  2,000 กิโลกรัมต่อไร่) และกลุ่มทดลองที่ 9 ปุ๋ยเคมีสูตร
               ส่วนช่วยในเรื่องของการกระตุ้นการขยายตัวของเซลล์โดย  46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักเศษ
               การเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ และได้ไซโตไคนินจาก  ใบไม้และมูลค้างคาว (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) มี
               น  ามะพร้าวซึ่งส่งเสริมในด้านการแบ่งเซลล์และการขยาย  ค่าเฉลี่ยน  าหนักแห้งต้นรวมรากมีค่ามากที่สุด คือ 19.50
               ขนาดของเซลล์ เช่นเดียวกัน (อภิญญ์ และธวัชชัย, 2555)    19.30 และ 19.30 กรัมต่อต้น ตามล าดับ ส่วนกลุ่ม
                                                                ทดลองที่มีค่าเฉลี่ยน  าหนักแห้งต้นรวมรากเฉลี่ยน้อยที่สุด
               7. น  าหนักสดต้นรวมรากเฉลี่ยของผักสลัดคอส        คือ กลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25
                       เมื่อสิ นสุดการทดลองผักสลัดคอสมีอายุ 36 วัน   กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว
               หลังย้ายปลูก น าผลผลิตที่ได้จากการเก็บเกี่ยวมาชั่ง พบว่า   (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) และกลุ่มทดลองที่ 1 ปุ๋ยเคมี
               มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (p≤0.01)   สูตร 46-0-0 (อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่) มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
               โดยกลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน  ามะพร้าว   16.17 และ 16.07 กรัมต่อต้น ตามล าดับ (ตารางที่ 2)
               (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีน  าหนักสดต้นรวมราก  เมื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักสลัดคอส ของทั ง
               เฉลี่ยมากที่สุด คือ 35.47 กรัมต่อต้น รองลงมาได้แก่กลุ่ม  สามกลุ่มการทดลอง คือ กลุ่มทดลองที่ 3 กลุ่มทดลองที่ 4
               ทดลองที่ 4 ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา 2,000   และกลุ่มทดลองที่ 9 จะเห็นว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดีมา
               กิโลกรัมต่อไร่) มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 30.21 กรัมต่อต้น ส่วนกลุ่ม  โดยตลอด จึงท าให้มีค่าเฉลี่ยของน  าหนักแห้งต้นรวมราก
               ทดลองที่มีค่าเฉลี่ยน  าหนักสดต้นรวมรากน้อยที่สุด คือ   เฉลี่ยมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับเมื่อเปรียบเทียบกับ
               กลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 25 กิโลกรัมต่อไร่   น  าหนักผลผลิตสดที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่ดีเช่นเดียวกัน



                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29