Page 19 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 19
15
15
การเกษตรราชภัฏ RAJABHAT AGRIC. 22 (1) : 14-22 (2023) Abstract
ผลของปุ๋ยหมักชีวภาพชนิดต่าง ๆ
Research on the Effects of using different types of bio-compost on growth and yield
ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดคอส of Cos Lettuce. The experiment was based on Randomized Complete Block Design (RCRD)
with 9 treatments (T) and 3 replications of 15 bags in each treatment. The experiment
Effects of Various Bio-composts showed that the used of golden apple snails bio-compost and coconut water (at the rate of
on Growth and Yield of Cos Lettuce 2,000 kg/ rai) (T3) were the most suitable types and ratios of bio-compost. Because of the
highest value of the plant height, canopy width, leaf length, fresh and dried weight of the
plant including roots at 21.05 cm, 20.23 cm, 17.90 cm, 35.47 g/plant and 19.50 g/plant,
1
1
1*
นงลักษณ์ พยัคฆศิรินาวิน สุจิตรา สืบนุการณ์ และ อนิวัฒน์ คุมมินทร์ respectively. The average leaf number per plant and leaf width were medium at 8.00
Nongluck Payakkasirinawin Sujitra Subnugarn and Aniwat Kummin leaves/plant and 5.55 cm respectively. In order, follow by synthetic microbial bio-compost
1
1*
1
(at the rate of 2,000 kg/rai) (T4) due to the average plant height (18.40 cm), plant total root
บทคัดย่อ fresh weight (30.21 g/plant) and plant total root dry weight (19.30 g/plant). The use of 46-0-0
chemical fertilizer at the rate of 25 kg/rai together with golden apple snails bio-compost and
การวิจัยผลของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพชนิดต่าง ๆ ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดคอส วาง coconut water (at the rate of 1,000 kg/ rai) (T7) was not recommended. Because of the most
แผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จ านวน 9 กลุ่มทดลอง ๆ ละ 3 of the indicators were at the lowest level.
ซ า ๆ 15 ถุง พบว่า กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) เป็นชนิด Keywords: Chemical Fertilizer, Bio-composts, Cos Lettuce
ปุ๋ยหมักและอัตราส่วนที่มีความเหมาะสมมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต้น ความกว้างทรงพุ่ม ความ
ยาวใบ น าหนักสดต้นรวมราก และน าหนักแห้งต้นรวมราก เฉลี่ยมากที่สุดคือ 21.03 เซนติเมตร 20.23 บทน า จุลินทรีย์ที่ท าหน้าที่ย่อยสลายอินทรียวัตถุเหล่านั น ท าให้
เซนติเมตร 17.90 เซนติเมตร 35.47 กรัมต่อต้น และ 19.50 กรัมต่อต้น ตามล าดับ และมีจ านวนใบเฉลี่ยต่อ ได้ปุ๋ยที่มีลักษณะสีคล าด าเป็นผงละเอียดจึงเหมาะส าหรับ
ต้น และ ความกว้างใบ อยู่ในระดับปานกลาง คือ 8.00 ใบต่อต้น และ 5.55 เซนติเมตร ตามล าดับ รองลงมา ผักสลัดคอส (Lactuca sativa L.) เป็นผักสลัด การปรับปรุงดินและให้ธาตุอาหารแก่พืช ช่วยให้พืช
คือ กลุ่มทดลองที่ 4 ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ย อันดับต้น ๆ ที่ผู้บริโภคนิยมรับประทานกัน ปลูกง่าย เจริญเติบโตและยังช่วยปรับสภาพของดินให้ดีขึ น (บัญชา
ของต้น (18.40 เซนติเมตร) น าหนักสดต้นรวมราก (30.21 กรัมต่อต้น) และน าหนักแห้งต้นรวมราก (19.30 เจริญเติบโตเร็วอายุการเก็บเกี่ยวสั นประมาณ 40-60 วัน และศิราณี, 2556) งานวิจัยในครั งนี จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ
กรัมต่อต้น) ส่วนกลุ่มทดลองที่ไม่แนะน าให้ใช้คือ กลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อ แม้ว่าผักกาดชนิดนี มีรสชาติขมเล็กน้อย แต่มีความกรอบ ศึกษาผลของปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและ
ไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) เนื่องจากดัชนีชี วัดส่วนใหญ่มีค่าอยู่ และเบาจึงเหมาะจะน าไปบริโภคสดและท าเป็นสลัดแบบ ผลผลิตของผักสลัดคอสและเพื่อเป็นแนวทางในการน าเอา
ในระดับต่ าที่สุด ต่าง ๆ ได้ นอกจากนี ผักกาดคอสยังอุดมไปด้วยวิตามินซี ปุ๋ยหมักชีวภาพมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้มากขึ น
มีไฟเบอร์ โพแทสเซียม และกรดโฟเลตสูง (ZEN
HYDROPONICS, 2559) สามารถปลูกได้ทุกฤดูและนิยม วิธีการวิจัย
ค าส าคัญ: ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก ผักสลัดคอส ปลูกในรูปของสวนผักทางการค้า โดยการผลิตผักสลัดคอ
Received: 25 October 2022; Accepted: 27 December 2022 สให้มีคุณภาพได้ตรงตามมาตฐานที่ตลาดต้องการ 1. การวางแผนการทดลอง
1 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000 จ าเป็นต้องใช้สารเคมีเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและเพื่อให้ วางแผนการทดลองแบบ Randomized
1 Division of Agriculture, Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani Rajabhat University สามารถผลิตผักสลัดคอสให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง แต่ผล Complete Block Design (RCBD) จ านวน 9 กลุ่ม
* Corresponding author: noi_noiy@hotmail.com
ที่ตามมา คือ เกิดสารเคมีตกค้างทั งในพืชและดิน ซึ่งการ ทดลอง ๆ ละ 3 ซ า ๆ ละ 15 ถุง ดังนี
ปลูกโดยใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพเป็นแนวทางหนึ่งในระบบการ กลุ่มทดลองที่ 1 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 50
ผลิตที่สามารถช่วยแก้ปัญหาสารเคมีตกค้างที่ท าให้ดิน กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 2 ปุ๋ยหมักมูลสุกรและเศษ
เสื่อมคุณภาพได้ (National Geographic Thai, 2563) พืช (อัตรา 2000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมัก
เพราะปุ๋ยหมักชีวภาพเป็นปุ๋ยที่ได้จากหมักบ่มสารอินทรีย์ หอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 2000 กิโลกรัมต่อไร่)
เช่น เศษใบไม้ เศษพืช ผัก ผลไม้ และมูลสัตว์ ด้วย กลุ่มทดลองที่ 4 ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566