Page 18 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 18
การเกษตรราชภัฏ RAJABHAT AGRIC. 22 (1) : 14-22 (2023)
ผลของปุ๋ยหมักชีวภาพชนิดต่าง ๆ
ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดคอส
Effects of Various Bio-composts
on Growth and Yield of Cos Lettuce
1
นงลักษณ์ พยัคฆศิรินาวิน สุจิตรา สืบนุการณ์ และ อนิวัฒน์ คุมมินทร์
1
1*
1
Nongluck Payakkasirinawin Sujitra Subnugarn and Aniwat Kummin
1*
1
บทคัดย่อ
การวิจัยผลของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพชนิดต่าง ๆ ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักสลัดคอส วาง
แผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จ านวน 9 กลุ่มทดลอง ๆ ละ 3
ซ า ๆ 15 ถุง พบว่า กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) เป็นชนิด
ปุ๋ยหมักและอัตราส่วนที่มีความเหมาะสมมากที่สุด เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ยของต้น ความกว้างทรงพุ่ม ความ
ยาวใบ น าหนักสดต้นรวมราก และน าหนักแห้งต้นรวมราก เฉลี่ยมากที่สุดคือ 21.03 เซนติเมตร 20.23
เซนติเมตร 17.90 เซนติเมตร 35.47 กรัมต่อต้น และ 19.50 กรัมต่อต้น ตามล าดับ และมีจ านวนใบเฉลี่ยต่อ
ต้น และ ความกว้างใบ อยู่ในระดับปานกลาง คือ 8.00 ใบต่อต้น และ 5.55 เซนติเมตร ตามล าดับ รองลงมา
คือ กลุ่มทดลองที่ 4 ปุ๋ยหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) เนื่องจากมีความสูงเฉลี่ย
ของต้น (18.40 เซนติเมตร) น าหนักสดต้นรวมราก (30.21 กรัมต่อต้น) และน าหนักแห้งต้นรวมราก (19.30
กรัมต่อต้น) ส่วนกลุ่มทดลองที่ไม่แนะน าให้ใช้คือ กลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อ
ไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) เนื่องจากดัชนีชี วัดส่วนใหญ่มีค่าอยู่
ในระดับต่ าที่สุด
ค าส าคัญ: ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก ผักสลัดคอส
Received: 25 October 2022; Accepted: 27 December 2022
1 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000
1 Division of Agriculture, Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani Rajabhat University
* Corresponding author: noi_noiy@hotmail.com