Page 20 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 20
16
16
2000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 5 ปุ๋ยหมักเศษใบไม้ 3.3. น าหนักแห้งต้นรวมราก (กรัมต่อต้น) โดย
และมูลค้างคาว (อัตรา 2000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลอง น าส่วนของต้นรวมรากมาอบในตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 60
ที่ 6 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) องศาเซลเซียล เป็นเวลา 72 ชั่วโมง
ร่วมกับปุ๋ยหมักมูลสุกรและเศษพืช (อัตรา 1000 กิโลกรัม
ต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 7 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 4. การวิเคราะห์ข้อมูล
กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว น าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวน
(อัตรา 1000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลองที่ 8 ปุ๋ยเคมีสูตร ทางสถิติ (ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกต่างของ
46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมัก ค่าเฉลี่ย โดยวิธี Least Significant Difference (lsd) ที่
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (อัตรา 1000 กิโลกรัมต่อไร่) และ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
กลุ่มทดลองที่ 9 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัม
ต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ยหมักเศษใบไม้และมูลค้างคาว (อัตรา
1000 กิโลกรัมต่อไร่) ผลการวิจัยและวิจารณ์
2. วิธีการทดลอง 1. ความสูงเฉลี่ยของผักสลัดคอส
2.1 การเพาะเมล็ดผักสลัดคอสลงในถาดเพาะ วัดความสูงผักสลัดคอสเมื่อผักสลัดคอสมีอายุ
โดยใส่ดินผสมแกลบด าอัตราส่วน 1:1 ให้เต็มถาดเพาะ 36 วัน หลังย้ายปลูก พบว่า กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอย
เกลี่ยดินให้เรียบ พรมน าพอประมาณ เอาเมล็ดสลัดหยอด เชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) มี
ลงไปในหลุม 1-2 เมล็ดต่อหลุม แล้วรดน าให้ชุ่มอีกครั ง ความสูงเฉลี่ยค่อนข้างมากกว่ากลุ่มทดลองอื่นๆ มีค่า
2.2 การเตรียมดิน โดยขุดดินมากองและโรยปูน เท่ากับ 21.03 เซนติเมตร ในขณะที่กลุ่มทดลองที่ 7
ขาว เกลี่ยตากดินทิ งไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ ให้วัชพืชแห้ง ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปุ๋ย
ตาย จึงน าดินมาใส่ถุงปลูก ขนาดถุง 5x10 นิ ว (น าหนัก หมักหอยเชอรี่และน ามะพร้าว (อัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อ
ดิน 2 กิโลกรัมต่อถุง) ไร่) พบว่าท าให้ผักสลัดคอสมีความสูงเฉลี่ยของต้นน้อย
2.3 หลังจากต้นอ่อนผักสลัดคอสงอกในถาด ที่สุด คือ 11.73 เซนติเมตร และมีความแตกต่างกันทาง
เพาะแล้วประมาณ 20 วัน ลักษณะต้นกล้าจะมีใบจริง 2-3 สถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง (p≤0.01) (ตารางที่ 1 และภาพที่
ใบ และรากเริ่มยาวให้ย้ายกล้ามาลงปลูกในถุงปลูก 1 ต้น 1) สาเหตุที่กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่และน า
ต่อ 1 ถุง มะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีค่าเฉลี่ยความสูง
2.4 การรดน า ควรให้น าอย่างสม่ าเสมอทุกวัน ของผักสลัดคอส มากที่สุด เนื่องจากในหอยเชอรี่มีโปรตีน
(เช้า-เย็น) สูงถึง 34-53 เปอร์เซ็นต์ มีหน้าที่ช่วยเสริมสร้างเซลล์และ
2.5 ใส่ปุ๋ยตามอัตราที่แผนการทดลองก าหนด การแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง (วราง
เมื่อผักสลัดคอส มีอายุ 15 วัน หลังย้ายปลูก ท าการ รัตน์, 2562) และในน ามะพร้าวมีฮอร์โมนในกลุ่มไซโตไค
ทดลองที่แปลงปลูกพืชทดลอง คณะเกษตรศาสตร์ นินที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตทางล าต้นและใบ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เดือน ตุลาคม พ.ศ. ผลผลิตและองค์ประกอบโดยรวมของผลผลิต (อภิญญ์
2561 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 รวมระยะเวลาทดลอง และธวัชชัย, 2555)
ทั งหมด 4 เดือน
2. ความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ยของผักสลัดคอส(เซนติเมตร)
3. การบันทึกข้อมูล วัดความกว้างทรงพุ่มเมื่อผักสลัดคอสมีอายุ 36
3.1 ความสูงของต้น ความกว้างทรงพุ่ม ความ วันหลังย้ายปลูก พบว่า กลุ่มทดลองที่ 3 ปุ๋ยหมักหอยเชอรี่
กว้าง และความยาวของใบที่กางเต็มที่จ านวน 3 ใบต่อต้น และน ามะพร้าว (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) กลุ่มทดลอง
(เซนติเมตร) เมื่อผักสลัดคอส อายุ 36 วัน หลังย้ายปลูก ที่ 6 ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 (อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่)
3.2 จ านวนใบ (ใบต่อต้น) เส้นผ่าศูนย์กลางล า ร่วมกับปุ๋ยหมักมูลสุกรและเศษพืช (อัตรา 1,000 กิโลกรัม
ต้น (มิลลิเมตร) โดยวัดสูงจากพื นดินขึ นมา 5 เซนติเมตร ต่อไร่) และกลุ่มทดลองที่ 2 ปุ๋ยหมักมูลสุกรและเศษพืช
น าหนักสดต้นรวมราก (กรัมต่อต้น) เมื่อผักสลัดคอส อายุ (อัตรา 2,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ยไม่
36 วันหลังย้ายลงปลูก แตกต่างกันทางสถิติ และมีค่าเฉลี่ยค่อนข้างมาก คือ
20.23 19.97 และ 19.03 เซนติเมตร ตามล าดับ ในขณะ
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566