Page 42 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 42

38
                                                           38

               ศึกษาในกิ่งพันธุ์แอบเปิ้ลที่มีความยาวแตกต่างกัน คือ 4   ขึ้น ฟ้าทะลายโจรที่มีการสร้างใบมาก มีจ้านวนใบต่อต้น
               แบบ พบว่ากิ่งพันธุ์ที่มีความยาวมาก คือ 35 เซนติเมตร   มาก จึงท้าให้มีพื้นที่ใบใช้ในการสังเคราะห์แสงมาก และ
               เป็นกิ่งพันธุ์ที่มีความเหมาะสมใช้ในการขยายพันธุ์ เพราะ  สามารถสร้างอาหารได้มากกว่าการใช้กิ่งพันธุ์ที่สั้นน้ามา
               มีการเจริญเติบโตของรากและล้าต้นดีมาก เมื่อเปรียบ   ปลูก นอกจากนี้กิ่งพันธุ์ที่มีขนาดความยาวน้อย เมื่อน้ามา
               เทียบกันกับการใช้กิ่งพันธุ์ที่สั้นกว่าแตกต่างกัน สอดคล้อง  ใช้ปลูกมักจะประสบกับปัญหาที่กิ่งพันธุ์มีการคายน้้าออก
               กับการทดลองของ สมยศ และคณะ (2562) ได้ศึกษา       จากล้าต้นสูง จึงมีผลท้าให้มีการสูญเสียน้้าจากล้าต้นมาก
               ความยาวของกิ่งพันธุ์ฟ้าทะลายโจร 3 แบบคือ ความยาว   และกิ่งพันธุ์จะแห้งเร็วมาก มีผลต่ออัตราการรอดชีวิตต่้า
               5, 10 และ 15 เซนติเมตร พบว่าฟ้าทะลายโจรที่มีความ  อีกทั้งยังมีผลท้าให้การเจริญเติบโตทางล้าต้นหยุดชะงัก
               ยาวของกิ่งพันธุ์มาใช้ปลูก ยาว 15 เซนติเมตร มีการ  เมื่อเปรียบเทียบกันกับกิ่งพันธุ์ที่มีความยาวมากกว่า
               เจริญเติบโตของต้นและรากมากที่สุด อีกทั้งยังมีการสะสม  น้ามาใช้ปลูก (สมยศ และคณะ, 2562) อย่างไรก็ตาม การ
               น้้าหนักแห้งรวม ผลผลิตเมล็ดและใบแห้ง มีค่ามากที่สุด   ใช้กิ่งพันธุ์ที่มีความยาว 12 เซนติเมตร น้ามาปลูก จึงน่าที่
               รองลงมาคือ กิ่งพันธุ์ที่ยาว 10 เซนติเมตร ในขณะที่กิ่ง  จะมีความเหมาะสม และไม่ควรใช้กิ่งพันธุ์ที่มีความยาวสั้น
               พันธุ์ที่สั้นที่สุดคือ 5 เซนติเมตร มีค่าน้อยสุด ซึ่งให้ผล  ที่สุด คือ 5 เซนติเมตร น้ามาใช้ปลูกเพราะมีการเจริญเติบ
               สอดคล้องกับการทดลองนี้ รวี และคณะ (2561) ได้กล่าว  โตน้อย และให้ผลผลิตน้้าหนักเมล็ดและใบแห้งต่้าสุด
               สรุปเอาไว้ว่าการเลือกกิ่งพันธุ์ที่น้ามาใช้ปลูกหรือปักช้า   สอดคล้องกับการทดลองของ  Naidu และ Jones (2009)
               ควรเลือกกิ่งพันธุ์ที่มีความยาวมาก เพราะกิ่งปักช้าเหล่านี้  ก็พบเช่นเดียวกันว่าการใช้กิ่งพันธุ์ที่สั้น 5 เซนติเมตร จะมี
               จะมีธาตุอาหารสะสมอยู่ภายในกิ่งพันธุ์มาก ซึ่งสามารถ  การเจริญเติบโตของรากและล้าต้นน้อยที่สุด
               น้ามาใช้ในการเจริญเติบโตของรากและยอดใหม่ก็มีมาก

               ตารางที่ 3   ผลของความแตกต่างของพันธุ์ และความยาวของกิ่งพันธุ์ที่แตกต่างกัน ที่มีต่อผลผลิตน้้าหนักเมล็ดแห้ง และ
                         ผลผลิตน้้าหนักใบแห้ง ของฟ้าทะลายโจรช่วงเก็บเกี่ยว ที่อายุ 120 วันหลังปลูก
                                                 ผลผลิตน้้าหนักเมล็ดแห้ง          ผลผลิตน้้าหนักใบแห้ง
                สิ่งทดลอง
                                                  (กรัมต่อตารางเมตร)              (กรัมต่อตารางเมตร)
                พันธุ์ฟ้าทะลายโจร (A)
                     ปราจีนบุรี                         4.81                           188.26
                     พิจิตร 4-4                         4.14                           145.68
                     ราชบุรี                            3.11                           114.56
                     พิษณุโลก 5-4                       2.46                           88.82
                ความยาวของกิ่งพันธุ์ (B)
                     5 ซม.                              2.84                           74.68
                     8 ซม.                              3.16                           89.24
                     10 ซม.                             4.01                           143.00
                     12 ซม.                             4.51                           200.42
                ค่าเฉลี่ย                               3.63                           34.33
                LSD (0.05) (A)                          0.45                           20.33
                LSD (0.05) (B)                          0.31                           51.06
                LSD (0.05) (AxB)                        ns                               ns
                C.V. (A) (%)                           14.15                           13.92
                C.V. (B) (%)                           12.43                           10.46
               ns = ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ









                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47