Page 46 - วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566
P. 46

42
                                                           42

                                                        Abstract



                       The objective of the study was to determine the effect of harvesting by different
               cuttings the stem height on growth and yield of Kalmegh. The experiment was conducted at

               Faculty of  Agricultural Technology, King  Mongkut’s Institute  of  Technology,  Ladkrabang,
               Bangkok during June to December, 2018. Six treatments of cutting height at 0, 10, 20, 30, 40
               and 50 cm above ground level in a randomized complete block design with 4 replications
               were employed. The results showed that the plant height, dry weight of new leaf and leaf dry

               weight yield of Kalmegh grown under cutting height at 10 cm gave the highest and followed
               by cutting at the higher above ground level, respectively. Kalmegh was death for 10 days after
               cutting close to the ground (cutting height at 0 cm). However, it was concluded that Kalmegh

               is suitable for cutting height at 10 cm above ground level for the highest leaf yield from the
               new shoot.

               Keywords: Andrographis paniculata (Burm. f.) Nees, Growth, Yield, Harvesting


                                  บทน า                         (สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2553) ซึ่งวิธีดังกล่าวท าให้
                                                                การเก็บเกี่ยวฟ้าทะลายโจรท าได้เพียงครั้งเดียว หากแต่
                        ฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata    การเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการตัดแต่งแบบไว้ต้นอาจช่วยท า
               (Burm. f.) Nees) เป็นพืชล้มลุกฤดูเดียว ในตระกูล   ให้ยอดใหม่เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้สามารถ
               Acanthaceae มีถิ่นก าเนิดในอินเดียและศรีลังกา โดยใน  เก็บผลผลิตฟ้าทะลายโจรในรุ่นถัดไปได้ วิธีการนี้มี
               ต ารายาโบราณของไทย จัดให้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่  ประโยชน์ คือ เกษตรกรไม่ต้องสิ้นเปลืองแรงงานในการ
               สามารถหามารับประทานแก้โรคได้เอง ล าต้นมีความสูง  เตรียมแปลงปลูกใหม่ และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
               ประมาณ 30-100 เซนติเมตร (สถาบันวิจัยสมุนไพร,     ปลูก นอกจากนี้ยอดใหม่ที่ได้ก็ยังมีการเจริญเติบโตอย่าง
               2542) ฟ้าทะลายโจรมีสรรพคุณหลายประการ เช่น แก้    รวดเร็ว ซึ่งอาจให้ผลดีกว่าการเริ่มปลูกโดยใช้เมล็ด
               ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ระงับอาการอักเสบ แก้ไอ แก้เจ็บคอ   Lounglawan et al. (2014) กล่าวว่าหญ้าอาหารสัตว์ใบ
               คออักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ หลอดลมอักเสบ ขับเสมหะ   เลี้ยงคู่ที่มีการตัดล าต้นเพื่อให้เกิดผลผลิตขึ้นมาใหม่ ให้
               รักษาโรคผิวหนัง ฝี แก้ติดเชื้อที่ท าให้ปวดท้อง ท้องเสีย   ผลผลิตน้ าหนักแห้งรวม ประมาณ 19.69-25.29 ตันต่อ
               บิด แก้กระเพาะและล าไส้อักเสบ เป็นยาขมเจริญอาหาร   เฮกตาร์ เมื่อมีการตัดสูงจากพื้นดิน 5-30 เซนติเมตร
               มีฤทธิ์ระงับการติดเชื้อหรือระงับการเจริญเติบโตของเชื้อ  ในขณะที่ Singh et al. (2010) รายงานว่าการตัดล าต้น
               โรคได้ เป็นต้น (ทวีผล และคณะ, 2542) ฟ้าทะลายโจรจึง  ของกะเพราอินเดีย (Ocimum basilicum L.) พบว่าการ
               เป็นพืชสมุนไพรที่มีประโยชน์ทางเภสัชวิทยา และมีความ  ตัดที่ระดับความสูงเหนือพื้นดิน 7.5-15 เซนติเมตร
               ต้องการฟ้าทะลายโจร เพื่อน ามาใช้เป็นวัตถุดิบในการท า  กะเพราอินเดียมีการแตกหน่อเพิ่มมากขึ้น Mareza et al.
               สมุนไพรเพิ่มมากขึ้น จึงท าให้เกษตรกรมีความสนใจ และ  (2016) ได้ท าการตัดแต่งต้นข้าวที่ระดับความสูง 10, 20,
               ขยายพื้นที่เพื่อเพาะปลูกฟ้าทะลายโจรเป็นการค้าเพิ่มขึ้น   30, 40 และ 50 เซนติเมตร เหนือพื้นดิน พบว่าการตัดที่
               เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ จึงควรมีการจัดการเก็บเกี่ยว  ระดับ 20-40 เซนติเมตร ต้นข้าวให้ผลผลิตดีที่สุด
               ที่เหมาะสม โดยทั่วไปเกษตรกรมีการเก็บเกี่ยวฟ้าทะลาย  Lounglawan et al. (2014)   พบว่าการตัดล าต้นหญ้า
               โจรเมื่อมีการออกดอก 25 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งระยะนี้จะให้  เนเปียร์ที่ระดับความสูงแตกต่างกัน คือ 5, 10 และ 15
               ผลผลิตมากที่สุด โดยเกษตรกรจะถอนต้นฟ้าทะลายโจร    เซนติเมตร จากผิวดิน ผลจากการทดลองให้ผลผลิต
               ออกจากแปลงปลูก น าไปเก็บรวบรวมและตัดแยกส่วน      น้ าหนักแห้งมีค่าไม่แตกต่างกัน ซึ่งจากการทดลองเหล่านี้
               แล้วจึงน าไปล้างและเอาเข้าตู้อบให้แห้งหรือน าไปผึ่งแดด   จะเห็นได้ว่าชนิดของพืชมีความแตกต่างกัน การตัดล าต้น



                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
                                    วารสารการเกษตรราชภัฏ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2566
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51