Page 90 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 90

๗.๑๐ นโยบายหลักที่ ๑๐ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
                     รัฐบาลให้ความส าคัญต่อการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการรับมือ

           กับภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นปัญหาอุทกภัยหรือภัยแล้ง เพื่อน าไปสู่การฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร

           ซึ่งมีผลการด าเนินงานที่ส าคัญ ดังนี้
                     ๗.๑๐.๑ การปกป้องรักษา ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ด าเนินการป้องกันรักษาป่าและแก้ไข

           ปัญหาไฟป่า โดยลดจุดความร้อนลง ร้อยละ ๒๐ จากค่าเฉลี่ย ๕ ปี ปลูกป่าฟื้นฟูโครงสร้างระบบนิเวศ จ านวน ๑๑,๐๐๐ ไร่

           และด าเนินโครงการป่าในเมือง “สวนป่าประชารัฐ เพื่อความสุขของคนไทย” ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายใน
           สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วนอุทยาน และป่าอนุรักษ์อื่น ๆ ให้อยู่ในรูปแบบกิจกรรมโครงการ

           ป่าในเมือง จ านวน ๕๔ แห่ง พื้นที่ด าเนินการ จ านวน ๑๙๔,๔๙๙ ไร่ พร้อมทั้งร่วมมือกับท้องถิ่น/ชุมชน
           ในการด าเนินการเพิ่มพื้นที่ปลูกต้นไม้ที่ตั้งอยู่ในเมืองหรือใกล้เมือง รวมทั้งส่งเสริมให้คนอยู่กับป่าพึ่งพากัน

           อย่างมีความสุข โดยจัดท าโครงการเสริมรายได้ให้กับประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ป่าและพื้นที่รอบป่า เช่น โครงการ
           ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ

                            นอกจากนี้ ได้ด าเนินคดีกับผู้กระท าผิดกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ เช่น คดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์

           จ านวน ๖๒๕ คดี จับกุมผู้ต้องหา จ านวน ๑๒๐ คน เนื้อที่ ๓,๔๖๑.๘๖ ไร่ หยุดยั้งการบุกรุกท าลายทรัพยากรป่าไม้
           โดยจับกุมด าเนินคดีกับผู้กระท าความผิด ส่งเสริม และผลักดันให้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้

           และการอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยการเพาะพันธุ์และปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ จ านวน ๓๓ ชนิด ๑,๙๑๕ ตัว ควบคุมประชากรลิง

           เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับลิง จ านวน ๔,๔๖๓ ตัว รวมทั้งแก้ไขปัญหาช้างป่าที่สร้างผลกระทบต่อราษฎร
           โดยด าเนินการในพื้นที่ ๑๓ กลุ่มป่า ทั้งนี้ ได้น าเสนอพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน เนื้อที่ ๒.๕๖ ล้านไร่ ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์

           ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และเป็นแหล่งถิ่นอาศัยที่ส าคัญของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่เสี่ยงสูญพันธุ์และถูกคุกคาม

           เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งที่ ๓ ของประเทศไทย
                     ๗.๑๐.๒ การส่งเสริมการบริหารจัดการน้ าทั้งระบบ แหล่งน้ าชุมชนและทะเล โดยขับเคลื่อนแผนแม่บท

           การบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้ด าเนินการปรับปรุงกรอบแนวทาง และค่าเป้าหมาย
           แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ๒๐ ปี โดยบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จ านวน ๑๓ กระทรวง

           ๕๑ หน่วยงาน เพื่อร่วมกันก าหนดกรอบแนวทางการพัฒนาด้านทรัพยากรน้ า ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด กลยุทธ์ แผนงาน

           ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ๒๐ ปี ซึ่งได้น าปัจจัยและสภาพแวดล้อมเพื่อการรองรับ
           การขับเคลื่อน ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) การแก้ไขปัญหาโดยการปรับตัว

           แบบอาศัยธรรมชาติเป็นฐาน (Nature-Base Solution: NBS) เศรษฐกิจหมุนเวียน การน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยใน
           การบริหารจัดการน้ า และการลดความเสี่ยงภายใต้กรอบการด าเนินงานเซนได เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ

           พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๗๓ (Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030) เชื่อมโยงตัวชี้วัด

           และเป้าหมายกับแผนระดับชาติและนานาชาติ โดยค านึงถึงจุดสมดุลย์ระหว่างการอนุรักษ์และพัฒนา พร้อมทั้ง
           ได้มีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ๒๒ ลุ่มน้ า เพื่อรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้ า

           องค์กรผู้ใช้น้ า และภาคประชาชน ภายใต้กรอบแนวคิดแผนการจัดการน้ าแบบพลวัต โดยประชาชนมีส่วนร่วม

           ในการจัดการน้ า (Water Resilience Management Plan with Citizen Co-Design) โดยมีกรอบการพัฒนา ๕ ด้าน
           ได้แก่ (๑) การจัดการน้ าอุปโภคบริโภค (๒) การสร้างความมั่นคงของน้ าภาคการผลิต (เกษตร/อุตสาหกรรม)



                                รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
             รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
           86 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                              (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
                                                                                                       ๘๖
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95