Page 87 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 87

๗.๙.๒ การส่งเสริมการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้มีการขับเคลื่อนการด าเนินงาน
              ที่ส าคัญ ดังนี้

                               ๑) บูรณาการดูแลผู้สูงอายุครบด้าน BMTEC (Brain-Mental-Teeth-Eye & Ear-Cardio)

              ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ได้ประชาสัมพันธ์และใช้งาน Application สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
              (Blue Book) โดยมีฐานข้อมูลคัดกรองสุขภาพของผู้สูงอายุและส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)

              จ านวน ๔,๓๒๕,๕๐๔ คน และได้จัดท าแผนการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุรายบุคคล ด้านการดูแลรักษาโรค

             และฟื้นฟูสุขภาพ ได้รับการประเมินมีพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ จ านวน ๑,๕๙๕,๙๐๙ คน พบว่ามีพฤติกรรมสุขภาพ
             ที่พึงประสงค์ จ านวน ๑,๑๕๔,๖๗๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๓ ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้รับ

              การคัดกรอง จ านวน ๑๑,๙๐๐ คน พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิก
              ผู้สูงอายุ จ านวน ๔,๑๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕ และผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มได้รับการคัดกรอง

              จ านวน ๑๐,๒๙๔ คน พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ จ านวน
              ๘,๒๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๓ ด้านการดูแลระยะยาวได้พัฒนาระบบ Long Term Care โดยมีต าบลที่มีระบบ

             การส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ จ านวน ๗,๑๒๑ ต าบล

             จาก ๗,๒๕๕ ต าบล คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๑ และขับเคลื่อนการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะกลางในชุมชน
              (Intermediate care in Community)

                               ๒) พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก ได้มีการติดตามเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับ

                                                                การกระตุ้นพัฒนาการด้วย TDA4I หรือเครื่องมือ
                                                                มาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย มีเด็กปฐมวัย

                                                                กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบว่า สงสัยล่าช้า

                                                                และได้รับการกระตุ้นจนมีพัฒนาการสมวัย จ านวน
                                                                ๓๘,๑๖๕ คน จากกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการติดตามประเมิน

                                                                พัฒนาการ จ านวน ๓๘,๔๐๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔
                                                                สนับสนุนงบประมาณด าเนินงาน (Prevention)

                                                                การพัฒนาระบบจัดบริการดูแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการ

              ล่าช้าอย่างต่อเนื่อง และสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมกับพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูและเผยแพร่ความรู้เรื่องการดูแลเด็กปฐมวัย
              เฝ้าระวังและป้องกันผลกระทบด้านสุขภาพจิตจากการระบาดของโควิด-๑๙ โดยมีประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา

              สุขภาพจิตและยินยอมให้ติดตามดูแลสุขภาพจิต จ านวน ๑๔,๓๖๐ คน ได้รับการติดตามให้การช่วยเหลือจิตใจไปแล้ว
              ทั้งสิ้น จ านวน ๑๓,๑๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๔

                       ๗.๙.๓ การพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) เช่น พัฒนา

              ศักยภาพ อสม. สู่การเป็นสมาร์ท อสม. และ อสม. หมอประจ าบ้าน ๘๑,๘๓๑ คน สามารถดูแลคุณภาพชีวิต
              กลุ่มเป้าหมายได้ดีขึ้น จ านวน ๑.๓๐ ล้านราย พัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุได้รับ

              การดูแล คุ้มครอง และช่วยเหลืออย่างมีมาตรฐาน จ านวน ๑๕,๓๗๕ คน โดยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง

             ของมนุษย์เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ จ านวน ๑,๐๒๕ คน (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ - ธันวาคม ๒๕๖๕)





               รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                           83
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                            ๘๓
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92