Page 83 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 83
หลักคิดการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Learning) ผ่านกิจวัตรประจ าวันสู่การออกแบบกิจกรรมที่เน้น
สมรรถนะส าหรับเด็กปฐมวัยการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Education) จ านวน ๔๔๕ คน
๒) ส่งเสริมทักษะอาชีพให้กับประชากรวัยแรงงาน จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตร
อาชีพตามความต้องการของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จ านวน ๔๑๔,๕๐๑ คน ผ่านกิจกรรมหลักสูตร ๑ - ๓๐ ชั่วโมง
มีผู้ผ่านการอบรม จ านวน ๒๐๐,๓๐๗ คน กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป มีผู้ผ่านการอบรม
จ านวน ๑๘๗,๔๘๙ คน และกิจกรรม ๑ อ าเภอ ๑ อาชีพ มีผู้ผ่านการอบรม จ านวน ๒๖,๗๐๕ คน
๓) ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผ่านการจัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต
เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ภายใต้สโลแกน “สูงวัยใจสมาร์ท สุขใจวัยเก๋า” โดยอบรม
พัฒนาครู กศน. ทั่วประเทศแบบออนไลน์ จ านวน ๘ รุ่น มีผู้เข้ารับการอบรม จ านวน ๗,๔๙๘ คน มีผู้ผ่านการอบรม
เป็นวิทยากร จ านวน ๖,๕๐๐ คน และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง
ของผู้สูงอายุ ผ่านกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม จ านวน ๒๔๗,๔๙๐ คน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดีขึ้น
ดูแลตนเองได้ มีรายได้มีเงินออม สามารถใช้เทคโนโลยีเบื้องต้นได้อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน เพื่อเตรียมความพร้อม
เข้าสู่สังคมสูงวัย (Aging Society) และผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ เป็นการบูรณาการความร่วมมือการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ใน ๒ หลักสูตร ได้แก่ (๑) หลักสูตร จ านวน ๗๐ ชั่วโมง
เป็นการจัดฝึกอบรมให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) ไปปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver)
ในระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) หรือประชาชนที่มีผู้มีภาวะพึ่งพิงในครอบครัว (๒) หลักสูตร
จ านวน ๔๒๐ ชั่วโมง เป็นการจัดฝึกอบรมให้แก่ประชาชนทั่วไปที่มีความประสงค์จะประกอบอาชีพเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ
โดยจัดอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ “หลักสูตร ๗๐ ชั่วโมง” ให้กับประชาชนทั่วไปที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป
จบการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่าที่มีความประสงค์จะ “ดูแลบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง” มีผู้ผ่านการอบรม
จ านวน ๓,๒๐๔ คน
๗.๘.๑๓ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
๑) จัดสรรทุนการศึกษาเพื่อเด็กสภาวะยากล าบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ ให้แก่เด็กชาวเขา
ยากจนด้อยโอกาสในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ ๘ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก ล าพูน
พะเยา และแพร่ โดยมีผู้ได้รับทุนการศึกษาเพื่อใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรียนและประกอบอาชีพ จ านวน ๖,๓๘๕ คน
๒) ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาส าหรับเด็กที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษและเด็ก
ที่มีความสามารถพิเศษ ดังนี้ (๑) พัฒนาครูผู้สอนคนพิการ จ านวน ๖๔๕ คน ให้สามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้ด าเนินการ
คัดกรองคนพิการทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (๒) พัฒนาครู จ านวน ๒๔๗ คน จาก ๑๐๗ โรงเรียน และครู
จ านวน ๑๒๘ คน จากศูนย์การศึกษาพิเศษ ๖๖ ศูนย์ ให้สามารถจัดท าแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program: IEP) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนพิการในโรงเรียนเอกชนในการขอรับสิ่งอ านวย
ความสะดวก สื่อ บริหาร และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓) ขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาประชาชน
ในพื้นที่เป้าหมาย ๗ อ าเภอ ใน ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน และตาก ด้วยกระบวนการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้รู้หนังสือ สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยในชีวิตประจ าวัน มีการพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่เหมาะสมตามบริบทชุมชน สามารถหารายได้จากอาชีพทดแทนที่มั่นคงเหมาะสมต่อสภาพสังคม
รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
79
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) ๗๙
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)