Page 91 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 91
(๓) การจัดการน้ าท่วมและอุทกภัย (๔) การอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศทรัพยากรน้ า และ (๕) การบริหารจัดการ
และจะถ่ายโอนไปสู่การจัดท าแผนแม่บทลุ่มน้ าผ่านกลไกคณะกรรมการลุ่มน้ า เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาและบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้ าในเขตลุ่มน้ าต่อไป
นอกจากนี้ ได้ด าเนินโครงการก่อสร้างระบบผลิตน้ าดื่มสะอาดในพื้นที่สูงถิ่นทุรกันดารในพื้นที่
รับผิดชอบ ใน ๘ จังหวัดภาคเหนือตอนบน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ าสะอาดส าหรับอุปโภค บริโภค โดยก่อสร้าง
ระบบผลิตน้ าดื่มสะอาดชนิดไฟฟ้า สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงและสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้
ชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง (ศศช.) รวมจ านวน ๑๔๔ แห่ง พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการเตือนภัยให้ครอบคลุม
ทุกพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ดินถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา โดยได้ติดตั้งระบบเตือนภัย จ านวน ๖๔๘ สถานี
๒,๑๓๘ หมู่บ้าน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ และด าเนินการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบกระจายน้ า
จ านวน ๕๒ แห่ง สามารถเก็บกักน้ ารวม ๔.๗๕๔๐ ล้านลูกบาศก์เมตร ประชาชนมีน้ าส าหรับอุปโภค/บริโภค
และการเกษตร รวม ๙,๕๘๘ ครัวเรือน ประชาชนมีน้ าส าหรับท าการเกษตรในพื้นที่ รวม ๓๒,๓๐๑ ไร่
๗.๑๐.๓ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรแร่ และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
เพื่อการพัฒนาประเทศและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
๑) บริหารจัดการเพื่อสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรแร่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
ได้ด าเนินการจัดท าบัญชีทรัพยากรแร่เพื่อการบริหารจัดการอย่างสมดุล โดยทบทวนบัญชีทรัพยากรแร่ทั่วประเทศ
ไม่น้อยกว่า ๑๐ ล้านไร่ รวมทั้งท าการส ารวจและประเมินศักยภาพแร่โพแทช จังหวัดนครพนม และธาตุหายาก
จังหวัดพังงา เพื่อน าไปจัดท าบัญชีทรัพยากรแร่เพิ่มเติม
นอกจากนี้ ได้ด าเนินการบริหารจัดการทรัพยากรแร่เพื่อการพัฒนาประเทศและเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยได้ส่งเสริมการด าเนินกิจการเหมืองแร่ตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green and Smart
Mining) เพื่อให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ได้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมเป็นเหมืองแร่ที่มีธรรมาภิบาลและเป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อมต่อหน้าสาธารณชน สร้างความเชื่อมั่นในการพัฒนาแร่อย่างยั่งยืน โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้จัดท า
หลักเกณฑ์การตรวจประเมินและก าหนดคะแนนประเมินเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ประกอบการเหมืองแร่และกิจกรรม
เกี่ยวเนื่องกับการท าเหมืองแร่ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการเข้ารับรางวัลเหมืองแร่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และมีธรรมาภิบาล
๒) บริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้ด าเนินการส ารวจธรณีวิทยา
เพื่อการบริหารจัดการทางทะเลและชายฝั่ง ส ารวจจัดท าข้อมูลและแผนที่พื้นที่เปราะบางต่อแผ่นดินทรุดและน้ าทะเล
รุกเข้าท่วมชุมชนชายฝั่งทะเลในพื้นที่วิกฤติ เพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์พื้นที่ในจังหวัดเพชรบุรี
รวมทั้งจัดท าข้อมูลและแผนที่ธรณีวิทยาแหล่งทรายและธรณีสัณฐานทางทะเลชายฝั่งในจังหวัดเพชรบุรี
และด าเนินการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ าทะเลที่มีความสัมพันธ์กับหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศโลก โดยใช้เครื่องมือวัดระดับน้ าทะเลขึ้น - ลงแบบอัตโนมัติ ควบคุมต าแหน่งด้วยระบบดาวเทียม ๘ สถานี
ในจังหวัดตราด ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง ภูเก็ต และสตูล
นอกจากนี้ ได้ประกาศกฎกระทรวงก าหนดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง จ านวน ๓ พื้นที่
ได้แก่ หมู่เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช เกาะโลซิน จังหวัดปัตตานี และพื้นที่ชายฝั่งทะเล จังหวัดตรัง รวมทั้ง
รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
87
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) ๘๗
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)