Page 101 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 101
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาในเขตพื้นที่
รับผิดชอบ
ค�านิยาม ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น
โรคความดันโลหิตสูง และได้รับการขึ้นทะเบียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
เกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนที่มารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล
43 แฟ้ม เข้าระบบ Health Data Center (HDC) On Cloud
แหล่งข้อมูล ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข
รายการข้อมูล 1 A: จ�านวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนที่มารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
รายการข้อมูล 2 B: จ�านวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด
สูตรค�านวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
ระยะเวลาประเมินผล 12 เดือน
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
Baseline Data หน่วยวัด ผลการด�าเนินงานในรอบปีงบประมาณ
2561 2562 2563 2564 2565
ร้อยละผู้ป่วยความดัน ร้อยละ 51.58 52.16 53.22 50 45.96
โลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน (ข้อมูล
และมารับการรักษา ณ วันที่ 30
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ก.ย. 65)
วิธีการประมวลผล คิดจาก 43 แฟ้ม (ช่วงปีงบประมาณ)
A : จ�านวนผู้ป่วยความดันโลหิตที่ขึ้นทะเบียน ใน B ที่มารับการรักษาในเขตพื้นที่
รับผิดชอบ ประมวลผลจากแฟ้ม CHRONICFU
B : จ�านวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในเขตพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด จากแฟ้ม
DIAGNOSIS_OPD, DIAGNOSIS_IPD, CHRONIC รหัส ICD-10 3 หลักขึ้นต้นด้วย
I10-I15 ที่อยู่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ PERSON.TYPE AREA I (“1” , “3”)
1 (มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบและอยู่จริง), 3 (มาอาศัย
อยู่ในเขตรับผิดชอบ แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ) และ PERSON.
DISCHARGE = “9” (ไม่จ�าหน่าย) PERSON.NATION = “099” (สัญชาติไทย)
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 89 NCD
พ.ศ.�2563-2566