Page 100 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 100
ตัวชี้วัดที่ 7 อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
ชื่อตัวชี้วัด อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
นิยาม ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ หมายถึง ประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15)
ในปีงบประมาณ
ประชากร หมายถึง ประชากรทั้งหมดทุกกลุ่มอายุ จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์
เกณฑ์เป้าหมาย ลดลงจากปีงบประมาณที่ผ่านมา
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรที่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์
ว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ในปีงบประมาณ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐาน
ข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าระบบ Health Data Center (HDC) On Cloud
แหล่งข้อมูล ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข
รายการข้อมูล 1 A = จ�านวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรก
จากแพทย์ว่าป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ในปีงบประมาณ
รายการข้อมูล 2 B = จ�านวนประชากรทั้งหมดทุกกลุ่มอายุ จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์
สูตรค�านวณตัวชี้วัด (A/B) x 100,000
ระยะเวลาประเมินผล 12 เดือน
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
Baseline Data หน่วยวัด ผลการด�าเนินงานในรอบปีงบประมาณ
2562 2563 2564 2565
อัตราป่วยรายใหม่ของ ร้อยละ 1,070.51 1,032.91 1,132.91 1,058.03
โรคความดันโลหิตสูง (ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ย. 65)
ต่อประชากรในปีงบประมาณ
วิธีการประเมิน A: จ�านวนผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วย
โรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ในปีงบประมาณ ประมวลผลจาก DIAGNOSIS_OPD,
DIAGNOSIS_IPD, CHRONIC รหัส ICD-10 3 หลักขึ้นด้วย I10-I15 ที่อาศัยอยู่
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ PERSON.TYPE AREA IN (“1”, “3”) 1 (มีชื่ออยู่ตาม
ทะเบียนบ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบและอยู่จริง), 3 (มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ
แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ) และ PERSON.DISCHARGE= “9”
(ไม่จ�าหน่าย) PERSON.NATION= “99” (สัญชาติไทย)
B: จ�านวนประชากรทั้งหมดทุกกลุ่มอายุ จากข้อมูลทะเบียนราษฎร์
NCD 88 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566