Page 95 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 95
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน
Baseline Data หน่วยวัด ผลการด�าเนินงานในรอบปีงบประมาณ
2562 2563 2564 2565
ร้อยละของผู้ป่วย ร้อยละ - - - 6.07
ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (ข้อมูล
จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับ ณ วันที่ 30 ก.ย. 65)
การตรวจติดตาม
วิธีการประเมิน A: จ�านวนประชากรใน B ที่ถูกวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าด้วยโรคความดันโลหิตสูง
(I10-I15) ในปีงบประมาณปัจจุบัน ที่สถานบริการสาธารณสุขแห่งใดก็ได้ ประมวลผล
จากแฟ้ม NCDSCREEN, DIAGNOSIS_OPD,DIANOSIS_IPD, CHRONIC รหัส ICD-10
3 หลักขึ้นด้วย I10-I15 ทีอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ PERSON.TYPE AREA IN
(“1”, “3”) 1 (มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบและอยู่จริง) ,
3 (มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ) และ
PERSON.DISCHARGE= “9” (ไม่จ�าหน่าย) PERSON.NATION= “99” (สัญชาติไทย)
B: กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ในช่วง
140-179 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ในช่วง 90-109
mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับ
การตรวจติดตามโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ท�า Home Blood
Pressure Monitoring (HBPM)) ภายใน 90 วัน หรือ การตรวจวัดความดันโลหิตซ�้า
ในสถานบริการสาธารณสุข ภายใน 90 วัน ประมวลผลจาก กลุ่มสงสัยป่วยความดัน
โลหิตสูง จากแฟ้ม NCDSCREEN ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน
หรือกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง จากแฟ้ม NCDSCREEN ได้รับการตรวจวัด
ความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุข ประมวลผลจาก แฟ้ม SERVICE.SBP
และ SERVICE.DBP
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 83 NCD
พ.ศ.�2563-2566