Page 94 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 94

ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม

           ชื่อตัวชี้วัด       ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจ
                               ติดตาม (วัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (HBPM) หรือตรวจวัดความดันโลหิตซ�้า
                               ในสถานบริการสาธารณสุข)
           ค�านิยาม            ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดัน
                               โลหิตสูงรายใหม่ในปีงบประมาณ
                               กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจติดตาม หมายถึง ประชากร
                               อายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและมีค่าความดันโลหิตตัวบน
                               เฉลี่ย (SBP) ระหว่าง 140 - 179 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย
                               (DBP) ระหว่าง 90 - 109 mmHg ในเขตรับผิดชอบและยังไม่ได้รับการวินิจฉัย
                               โรคความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ และได้รับการตรวจติดตามโดยการวัดความดันโลหิต
                               ด้วยตนเองที่บ้าน (ท�า Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) ภายใน 90 วัน
                               หรือได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุข ภายใน 90 วัน
                               การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (Home Blood Pressure Monitoring
                               (HBPM)) หมายถึง การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ท�า Home Blood
                               Pressure Monitoring (HBPM)) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน ตามแนวทางการรักษา
                               โรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 สมาคมความดันโลหิตสูง
                               แห่งประเทศไทย (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)
           เกณฑ์เป้าหมาย       -
           วัตถุประสงค์        เพื่อเป็นการยืนยันการวินิจฉัยขั้นต้นในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย

           ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มสงสัยป่วย
                               ความดันโลหิตสูงและได้รับการตรวจติดตามโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน
                               (ท�า Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) หรือตรวจวัดความดันโลหิตซ�้า
                               ในสถานบริการสาธารณสุขในปีงบประมาณ type area 1,3

           วิธีการจัดเก็บข้อมูล  บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล
                               43 แฟ้ม เข้าระบบ Health Data Center (HDC) On Cloud
           แหล่งข้อมูล         ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข
           รายการข้อมูล 1      A = จ�านวนประชากรใน B ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
                               ในปีงบประมาณ
                               หมายเหตุ : วินิจฉัยโดยแพทย์ที่สถานบริการสาธารณสุขแห่งใดก็ได้
           รายการข้อมูล 2      B = จ�านวนประชากรสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ
                               ได้รับการตรวจติดตามโดยการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ท�า Home Blood
                               Pressure Monitoring (HBPM)) หรือตรวจวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการ
                               สาธารณสุขภายใน 90 วัน
           สูตรค�านวณตัวชี้วัด  (A/B) x100
           ระยะเวลาประเมินผล   12 เดือน

           วิธีการประมวลผล     ติดตามจากระบบรายงานใน HDC




   NCD       82   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99