Page 98 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 98

ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย  (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ
           ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg จากการวัดความดันโลหิตซ�้าในโรงพยาบาล และ

           ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
           ชื่อตัวชี้วัด      ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ
                              ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg จากการวัดความดันโลหิต
                              ซ�้าในโรงพยาบาล และได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
           ค�านิยาม           ผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิต
                              ตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg จากการคัดกรองในชุมชน (Community)
                              หมายถึง ประชากรในเขตรับผิดชอบที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
                              (รหัส ICD-10 สามหลักขึ้นต้นด้วย I10 - I15) ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
                              และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 180 mmHg
                              และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg
                              ในปีงบประมาณ
                              การวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการสาธารณสุข หมายถึง ประชากรในเขต
                              รับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย
                              (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่าง
                              เฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg ได้รับการวัดความดันโลหิตซ�้า
                              ในสถานบริการสาธารณสุข
                              การวัดความดันโลหิตซ�้าในโรงพยาบาล (Hospital) หมายถึง ประชากรในเขต
                              รับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย
                              (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่าง
                              เฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg ได้รับการวัดความดันโลหิตซ�้า
                              ในโรงพยาบาล และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 180 mmHg
                              และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg
                              หมายเหตุ : นับเป้าหมายจากการวัดความดันโลหิตซ�้าในโรงพยาบาล (Hospital)
                              ได้รับการวินิจฉัย หมายถึง ประชากรในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการวัดความดันโลหิตซ�้า
                              ในโรงพยาบาล และมีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ
                              180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ
                              110 mmHg ได้รับการวินิจฉัยตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
                              ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย
           เกณฑ์เป้าหมาย      -
           วัตถุประสงค์       เพื่อยืนยันว่าผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 mmHg และ/หรือ
                              ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 mmHg ได้รับการวินิจฉัยขึ้นทะเบียนรักษา
                              โรคความดันโลหิตสูงจริง (รหัส ICD-10 สามหลักขึ้นต้นด้วย I10-I15)
           ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ประชากรในเขตรับผิดชอบได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และมีค่าความดันโลหิต
                              ตัวบนเฉลี่ย (SBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 180 mmHg และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัว
                              ล่างเฉลี่ย (DBP) มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg
                              หมายเหตุ: ประชากรในเขตรับผิดชอบ หมายถึง ผู้มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขต
                              รับผิดชอบและอยู่จริง (type area 1) ผู้อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ แต่ทะเบียนบ้าน
                              อยู่นอกเขต (type area 3) และ PERSON.DISCHARGE=“9” (ไม่จ�าหน่าย)
                              PERSON.NATION=“099” (สัญชาติไทย)
           วิธีการจัดเก็บข้อมูล  บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล
                              43 แฟ้ม เข้าระบบ Health Data Center (HDC) On Cloud



   NCD       86   ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103