Page 97 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 97

สูตรค�านวณตัวชี้วัด    (A/B) x 100
               ระยะเวลาประเมินผล     12 เดือน
               วิธีการประมวลผล       A: จ�านวนผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบใน B ที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์
                                     ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) ในปีงบประมาณ ที่สถานบริการสาธารณสุข
                                     แห่งใดก็ได้ประมวลผลจากแฟ้ม NCDSCREEN.SBP, NCDSCREEN.DBP,
                                     DIAGNOSIS_OPD, DIANOSIS_IPD, CHRONIC รหัส ICD-10 3 หลักขึ้นด้วย
                                     I10-I15 ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ PERSON.TYPE AREA IN (“1”, “3”)
                                     1 (มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบและอยู่จริง) , 3 (มาอาศัยอยู่
                                     ในเขตรับผิดชอบ แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ) และ PERSON.
                                     DISCHARGE= “9” (ไม่จ�าหน่าย) PERSON.NATION= “99” (สัญชาติไทย)
                                     ในปีงบประมาณ
                                     B: ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และมีค่า
                                     ความดันโลหิตจากการตรวจที่สถานบริการสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ
                                     มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ในช่วง 130-139 mmHg และ/หรือ
                                     ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ในช่วง 85-89 mmHg ในปีงบประมาณ
                                     ที่ผ่านมา จากแฟ้ม NCDSCREEN.SBP,NCDSCREEN.DBP
















































                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  85  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102