Page 92 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 92
รายการข้อมูล 1 A = จ�านวนประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ
วัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ท�า Home Blood Pressure Monitoring
(HBPM)) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิต
ด้วยตนเองที่บ้าน (ภายใน 90 วัน) หรือ การตรวจวัดความดันโลหิตซ�้าในสถานบริการ
สาธารณสุขเดิม (ภายใน 90 วัน) ด้วยวิธีการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้องตามมาตรฐาน
ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 หลังจากได้
รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงที่สถานบริการสาธารณสุข หรือในชุมชนแล้ว เพื่อรับ
การวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง
รายการข้อมูล 2 B = จ�านวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรอง
ความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณและเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง
สูตรค�านวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
ระยะเวลาประเมินผล 12 เดือน
เกณฑ์การประเมิน :
ปี 2566:
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน
- ≥ร้อยละ 60 ≥ร้อยละ 80 ≥ร้อยละ 93
ปี 2567:
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
- - - ≥ร้อยละ 95
ปี 2568:
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
- - - ≥ร้อยละ 95
ปี 2569:
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
- - - ≥ร้อยละ 95
ปี 2570:
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
- - - ≥ร้อยละ 95
NCD 80 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566