Page 130 - ถักร้อยความรู้ภูมิศาสตร์อันหลากหลาย : หมุดหมายความรู้ครบรอบ 60 ปี
P. 130
คำาจำาก้ด้ความิให้้เข้าใจได้้ว่า “เป็็น์กระบีวัน์การอย่างเป็็น์ระบีบีของการบีริหารองค์กร ทัักษะ แล่ะควัามิสามิารถิ่
ใน์การป็ฏิิบีัติงาน์เพื้้�อใชิ้กล่ยุทัธ์เชิิงน์โยบีายแล่ะการป็รับีป็รุงขีดควัามิสามิารถิ่ใน์การเผชิิญป็ัญหาเพื้้�อ
ล่ดผล่กระทับีจากอัน์ตรายแล่ะควัามิเป็็น์ไป็ได้ของภูัยพื้ิบีัติ” (ADPC, 2012) ด้้งน้�น การบริห้ารจ้ด้การความิ
เสิี�ยงภ้ยพิบ้ตั้ิจึงถึือเปี็นการนำาแนวคิด้เรื�อง “ควัามิเสี�ยง (risk)” ด้้วยกระบวนการปีระเมิินความิเสิี�ยงจากภ้ย
พิบ้ตั้ิมิาเปี็นปีัจจ้ยห้ล้กของการบริห้ารจ้ด้การภ้ยพิบ้ตั้ิห้รือสิาธิารณภ้ยในเชิงรุกและนำาไปีสิู่การจ้ด้การที�ย้�งยืน
ซัึ�งปีระกอบไปีด้้วยห้ล้กการของการด้ำาเนินงานใน 2 ห้ล้กการ
1) แนุวัคิดการลดควัามเสี�ยงจัากภูัยพิบัติ (Disaster Risk Reduction: DRR) ปีระกอบด้้วย
กระบวนการปี้องก้นและลด้ผู้ลกระทบ (prevention & mitigation) กระบวนการเตั้รียมิพร้อมิ (preparedness)
2) แนุวัคิดการจััดการภูัยพิบัติ (Disaster Management: DM) ปีระกอบด้้วย กระบวนการจ้ด้การ
ในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management: EM) ได้้แก่ การตั้อบโตั้้สิถึานการณ์ การบรรเทาสิถึานการณ์
และกระบวนการฟื�นฟูห้รือกู้คืนสิภาพ (recovery) ได้้แก่ การฟื�นสิภาพและการซั่อมิสิร้าง (rehabilitation and
reconstruction) การสิร้างให้้ด้ีกว่าเด้ิมิ (Build Back Better: BBB)
จากการเรียนรู้จากปีระสิบการณ์และองค์ความิรู้ที�ผู้่านมิาของปีระชาคมิโลก จนเกิด้ความิตั้ระห้น้กถึึง
ผู้ลกระทบที�เกิด้ขึ�นจากภ้ยพิบ้ตั้ิและความิเข้าใจเกี�ยวก้บความิเสิี�ยงภ้ยพิบ้ตั้ิที�มิากขึ�น จนทำาให้้นานาปีระเทศ
ท้�วโลกได้้ให้้การยอมิร้บร่วมิก้นว่า ผล่กระทับีจากภูัยพื้ิบีัติน์ั�น์สามิารถิ่บีริหารจัดการได้โดยไมิ่ต้องรอ
ให้เกิดเหตุการณ์ภูัยพื้ิบีัติซึ่ึ�งสามิารถิ่ดำาเน์ิน์งาน์ได้ล่่วังหน์้าใน์ภูาวัะป็กติก่อน์เกิดภูัยน์ั�น์เอง โดยได้ให้
ควัามิสำาคัญกับีการบีริหารจัดการควัามิเสี�ยงจากภูัยพื้ิบีัติ (DRM) แทน ถึือเปี็นการปีฏิิบ้ตั้ิการที�มิุ่งเน้นถึึง
ความิเข้าใจในเรื�องความิเสิี�ยงและการจ้ด้การก้บปีัจจ้ยของความิเสิี�ยงจากภ้ยพิบ้ตั้ิน้�นอย่างเปี็นระบบ
จากแนวคิด้ให้มิ่ของการด้ำาเนินงานตั้ามิแนวทางของการจ้ด้การความิเสิี�ยงภ้ยพิบ้ตั้ิด้้งกล่าว
โด้ยมิีเปี้าห้มิายสิำาค้ญที�มิุ่งให้้ปีระชาชนห้รือชุมิชนห้รือสิ้งคมิได้้เกิด้ภาวะความิปีลอด้ภ้ยจากภ้ยพิบ้ตั้ิ
ซัึ�งเปี็นการให้้ความิสิำาค้ญก้บการสิร้างองค์ความิรู้ ความิตั้ระห้น้ก และว้ฒนธิรรมิความิปีลอด้ภ้ยเพื�อให้้
ปีระชาชนห้รือชุมิชนห้รือสิ้งคมิได้้เกิด้ศ้กยภาพในการร้บมิือก้บภ้ยพิบ้ตั้ิที�เกิด้ขึ�น น้�นคือคำาว่า “Disaster
Resilience” โด้ยถึือเปี็นคำาศ้พท์ให้ญ่และมิีความิสิำาค้ญยิ�งตั้่อการด้ำาเนินงานในการบริห้ารจ้ด้การผู้ลกระทบ
ทางด้้านภ้ยพิบ้ตั้ิ โด้ยอาจจะพอแปีลความิห้มิายให้้เข้าใจได้้ว่า คือ “ควัามิย้ดหยุ่น์ต่อภูัยพื้ิบีัติ” ซัึ�งพอจะให้้
ความิห้มิายโด้ยสิ้งเขปี คือ “ศักยภูาพื้ของควัามิสามิารถิ่ใน์การดูดซึ่ับีการรบีกวัน์จากภูัยพื้ิบีัติได้ก่อน์ทัี�
จะมิีการเป็ล่ี�ยน์แป็ล่งสภูาพื้จากผล่กระทับีของภูัยพื้ิบีัติทัี�เกิดขึ�น์หร้อเป็็น์ควัามิสามิารถิ่ใน์การรับีมิ้อจาก
ภูัยพื้ิบีัติแล่ะรวัมิไป็ถิ่ึงเป็็น์ควัามิสามิารถิ่ใน์การกู้ค้น์สภูาพื้กล่ับีด้วัย ซึ่ึ�งควัามิสามิารถิ่น์ั�น์ สามิารถิ่วััดได้
ใน์ทัุกระดับี ทัั�งใน์ระดับีบีุคคล่ ระดับีครัวัเร้อน์ ระดับีกลุ่่มิชิุมิชิน์ ระดับีสังคมิ” จะเห้็นได้้ว่า ชุมิชนห้รือสิ้งคมิ
ที�มิีความิยืด้ห้ยุ่นตั้่อภ้ยพิบ้ตั้ิสิูงก็จะแสิด้งถึึงความิสิามิารถึในการฟื�นคืนกล้บสิภาพได้้รวด้เร็วด้้วยเช่นก้น
130 ถักร้อยความรู้ภูมิศาสตร์อันหลากหลาย:
หมุดหมายความรู้ ครบรอบ 60 ปี