Page 35 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 35

- 32 -

                 ตารางที่ ๖ : สัดส่วนการเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่ประเทศคู่เจรจาอาเซียนมีอยู่กับไทย
                                                                                           หน่วยมูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ

                         การเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่
              ประเทศคู่
               เจรจา    จ านวน  ร้อยละของ  มูลค่าการ  ร้อยละของ  ตัวอย่างสินค้าที่ประเทศคู่เจรจาอาเซียนเปิดตลาดเพิ่มเติมจาก
              อาเซียน   รายการ จ านวนสินค้า  น าเข้าจาก  มูลค่าการน าเข้า  ความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่กับไทย
                         สินค้า   ทั้งหมด   RCEP    จาก RCEP
            อาเซียน/
            ออสเตรเลีย                                    ไม่มีการเปิดตลาดเพิ่มเติม
            /นิวซีแลนด์
                                                              เชื้อเพลิงที่ได้จากแร่ ผักผลไม้สด/แห้ง (อาทิ มังคุด ทุเรียน) ผัก
                                                              ผลไม้แปรรูป (อาทิ ข้าวโพดหวาน สัปปะรด) เนยแข็ง แชมพู
                                                              น้ ามันที่ได้จากพืช ของปรุงแต่งจากธัญพืชและแป้ง แป้งมัน
            เกาหลี      ๔๑๓      3.4       ๗,๒๐๑      3.2     ส าปะหลัง แป้งท้าวยายม่อม พลาสติก เครื่องแต่งกาย เครื่องแก้ว
                                                              ไม้ เครื่องดื่มที่มีและไม่มีแอลกอฮอล์ อาหารแปรรูป ชิ้นส่วน
                                                              อุปกรณ์ไฟฟ้า  สบู่ เคมีภัณฑ์ ด้ายท าด้วยยางวัลแคไนซ์ สินค้า
                                                              ประมง รถจักรยาน เครื่องยนต์และส่วนประกอบ กระเบื้อง ซีเมนต์
                                                              ผลไม้และลูกนัตปรุงแต่ง  (อาทิ เชอร์รี่ ส้ม สัปปะรด เกาลัด) สินค้า
                                                              ประมง แป้งจากมันฝรั่ง แป้งสาคู น้ ามันถั่วเหลือง น้ ามันจากเมล็ด
            ญี่ปุ่น     207      2.3       ๓๖๒        0.09    ดอกทานตะวัน ผักปรุงแต่ง (อาทิ มะเขือเทศ ถั่วบีน หน่อไม้ฝรั่ง ผง
                                                              กระเทียม) ผงโกโก้ กาแฟคั่ว ขนมปังกรอบ น้ าส้ม น้ าเกรปฟรุต  น้ า
                                                              ผลไม้ผสม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
                                                              พริกไทย สับปะรดแปรรูป น้ ามะพร้าว แผ่นฟิล์ม แผ่นไวแสง ตัวรับ
                                                              สัญญาณโทรทัศน์ น้ ามันเบาและสิ่งปรุงแต่ง สไตรีน โพลิเอทิลีน สาร
            จีน          33      0.4       ๔,๕๖๗      0.7
                                                              ท าละลาย ฟิลม์เอ็กซเรย์ เครื่องเสียง อุปกรณ์ให้แสงสว่าง สายไฟที่
                                                              ใช้ในรถยนต์ เครื่องยนต์ ที่ปรับกระจกในรถยนต์ กระดาษ


                    ๑.๓ ข้อผูกพันการเปิดตลาดสินค้าระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกัน

                        หากไม่รวมสิงคโปร์และบรูไนดารุสซาลามซึ่งเป็นประเทศที่มีการค้าเสรีสูง รวมทั้งกัมพูชา สปป. ลาว
               และเมียนมาที่เป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least-Developed Countries:  LDCs)  และได้รับสิทธิการปฏิบัติ
               เป็นพิเศษและแตกต่าง (Special and Differential Treatment: S&D) ในการก าหนดข้อผูกพันทางภาษีของตน
               ประเทศอาเซียนที่เป็นคู่แข่งส าคัญของไทย ได้แก่ เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์  ได้ผูกพันการ

               เปิดตลาดให้กับอาเซียนด้วยกัน (รวมถึงไทย) โดยมีสัดส่วนการยกเลิกภาษีอยู่ที่ร้อยละ 90 – 92 ของจ านวน
               รายการสินค้าทั้งหมด และร้อยละ 85.4 – 89.1 ของมูลค่าการน าเข้าจาก RCEP
                        ประเทศสมาชิกอาเซียนมีรูปแบบข้อผูกพันทางภาษีสรุปดังนี้
                           (๑) สิงคโปร์ จะยกเลิกภาษีส าหรับสินค้าทั้งหมด โดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ

                           (๒) บรูไนดารุสซาลาม จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปีและ
               ภายใน ๑๕ ปี ในขณะที่จะลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0 - ๕ ภายใน ๒๐ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๐ ส าหรับสินค้า
               อ่อนไหว และจะลดภาษีเหลือร้อยละ ๕ ภายใน ๒๕ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๕ ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                           (๓) อินโดนีเซีย จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี ภายใน

               ๑๕ ปีและภายใน ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 2.5 – 15 ภายใน ๒๓ ปีโดยเริ่มลดภาษีจากปีที่ ๑๐
               หรือปีที่ ๑๑ ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะคงอัตราภาษีฐานการเจรจาส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                           (๔) ฟิลิปปินส์ จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๕ ปี และภายใน

               ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 3 – 35 ภายใน ๑๕ ปี ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะลดภาษีเหลือร้อย
               ละ 15 – 30 ภายใน ๒๐ ปีส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40