Page 30 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 30

- 26 -                                                    - 27 -

 17.2 ให้มีการเผยแพร่กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ กระบวนการ และค าวินิจฉัยทางปกครองที่ใช้  17.15 อนุญาตให้นิวซีแลนด์สามารถออกมาตรการที่ให้การประติบัติที่ดีกว่ากับประชาชนเมารี รวมถึง
 โดยทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับความตกลงโดยเร็ว รวมถึงทางอินเทอร์เน็ตหากท าได้ และให้มีการเผยแพร่ล่วงหน้ากรณีที่  ภายใต้สนธิสัญญาไวแทงกิของนิวซีแลนด์ หากมาตรการดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดการเลือกปฏิบัติตามอ าเภอใจหรือ
 มีการเสนอที่จะน ามาใช้ รวมถึงให้โอกาสในการแสดงความเห็น    ข้อจ ากัดทางการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน
 17.3 เมื่อมีการร้องขอและเห็นว่าอาจกระทบต่อการด าเนินการของความตกลง จะต้องมีการให้ข้อมูล

 และตอบค าถามโดยเร็วเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ กระบวนการ และค าวินิจฉัยทางปกครองที่ใช้  บทที่ 18 บทบัญญัติเกี่ยวกับสถาบัน
 โดยทั่วไปที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือก าลังเสนออยู่    บทบัญญัติเกี่ยวกับสถาบัน  ประกอบด้วย 8 ข้อบท และภาคผนวก 18 เอ (หน้าที่ขององค์กรย่อย
 17.4 ไม่ก าหนดให้ภาคีต้องให้ข้อมูลความลับหากเป็นการขัดต่อกฎหมาย ประโยชน์สาธารณะ หรือ  ของคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป)

 กระทบผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ของหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน   18.1 ให้มีการประชุมของรัฐมนตรี ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ และในทุก ๆ ปี
 17.5 ในกรณีที่บุคคลของภาคีได้รับผลกระทบจากกระบวนการทางการปกครองที่เกี่ยวข้องกับ  หลังจากนั้น
 ประเด็นในความตกลงฉบับนี้  จะต้องได้รับการแจ้งข้อมูลประเด็น กฎหมาย และกระบวนการที่เกี่ยวข้องตาม  18.2 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วม (Joint Committee)  ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส
 สมควรตามกระบวนการภายใน และบุคคลที่เกี่ยวข้องมีโอกาสที่สมเหตุสมผลในการเสนอข้อเท็จจริงและเหตุผลที่  ของแต่ละภาคี โดยจะต้องมีการประชุมภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลบังคับใช้ ก่อนการประชุมครั้ง

 เกี่ยวข้องก่อนที่จะมีการตัดสิน   แรกของรัฐมนตรี และในทุก ๆ ปีหลังจากนั้น โดยมีอ านาจหน้าที่ อาทิ  การพิจารณาประเด็นใด ๆ เกี่ยวกับการ
 17.6 ภาคีจะต้องมีกระบวนการยุติธรรม หรือกระบวนการเพื่อการทบทวนและการอุทธรณ์ผลค า  ด าเนินการตามความตกลง การพิจารณาข้อเสนอการแก้ไขความตกลง การหารือความแตกต่างที่เกิดจากการ
 ตัดสินของกระบวนการปกครองประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความตกลงฉบับนี้ โดยจะต้องเป็นหน่วยงานที่มีความเป็น  ตีความบทบัญญัติของความตกลง การจัดตั้ง ก ากับดูแลและประสานการท างานขององค์กรย่อย  การปรับ
 กลางไม่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อผลการตัดสินอย่างมีนัยส าคัญ และให้แต่ละฝ่ายสามารถเสนอเหตุผลชี้แจงสนับสนุน  โครงสร้างและการมอบหมายงานองค์กรย่อย การจัดตั้งและก ากับดูแลเลขานุการ RCEP  ตามเงื่อนไขที่ภาคี

 ตามสมควร และต้องท าให้มั่นใจว่าผลค าตัดสินดังกล่าวจะได้รับการปฏิบัติตาม   ก าหนดร่วมกัน และการจัดเวทีหารือกับภาคธุรกิจ นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญ  ทั้งนี้ คณะกรรมการร่วมจะต้อง
 17.7 เมื่อมีการให้ข้อมูลที่ก าหนดว่าเป็นความลับ จะต้องมีการรักษาความลับของข้อมูลภายใต้  ตัดสินใจโดยฉันทามติและก าหนดข้อบังคับการประชุมในการประชุมครั้งแรก
 กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของตน    18.3 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ  4  คณะ ได้แก่ (1)  คณะกรรมการด้านสินค้า รับผิดชอบประเด็น
 17.8 ภาคีจะต้องมีมาตรการที่เหมาะสมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริต โดยเป็นไปตามกฎหมาย  เกี่ยวกับการค้าสินค้า กฎว่าด้วยถิ่นก าเนิดสินค้า พิธีการศุลกากรและการอ านวยความสะดวกทางการค้า

 และระเบียบข้อบังคับของตน  ซึ่งเรื่องนี้จะไม่อยู่ภายใต้บทบัญญัติการระงับข้อพิพาท   มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง
 17.9 ยืนยันสิทธิและพันธกรณีตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on   และการเยียวยาทางการค้า (2)  คณะกรรมการด้านบริการและการลงทุน รับผิดชอบประเด็นเกี่ยวกับการค้า
 Biological Diversity)   บริการ บริการด้านการเงิน บริการโทรคมนาคม บริการวิชาชีพ การเคลื่อนย้ายชั่วคราวของบุคคลธรรมดา และ
 17.10 การตัดสินโดยหน่วยงานผู้มีอ านาจ รวมถึงหน่วยงานด้านการลงทุนของต่างชาติ ในการอนุญาต  การลงทุน (3)  คณะกรรมการด้านการเติบโตอย่างยั่งยืน รับผิดชอบประเด็นเกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและ

 หรือยอมรับข้อเสนอของการลงทุนต่างชาติ ไม่อยู่ภายใต้บทบัญญัติการระงับข้อพิพาท   ขนาดย่อม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ และประเด็นใหม่ ๆ (4)  คณะกรรมการด้านสภาพแวดล้อม
 17.11 ภาคีมีสิทธิที่จะก าหนดนโยบายส าคัญและด าเนินมาตรการที่เป็นประโยชน์สาธารณะ โดยอาศัย  ทางธุรกิจ  รับผิดชอบประเด็นเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การแข่งขันทางการค้า และ
 ข้อยกเว้นทั่วไปตามข้อ 20 ของความตกลง GATT 1994 และข้อ 14 ของความตกลง GATS ซึ่งน ามาบรรจุใน  การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ โดยคณะกรรมการจะต้องมีการประชุมภายใน 1  ปี นับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้
 ความตกลง โดยรวมถึงมาตรการสิ่งแวดล้อมที่จ าเป็นต่อการปกป้องชีวิตหรือสุขภาพมนุษย์ สัตว์และพืช และ  บังคับ และในทุก ๆ ปีหลังจากนั้น

 มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่หมดไปได้ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต    18.4 ให้มีการก าหนดจุดติดต่อในภาพรวม (overall contact point) เพื่ออ านวยความสะดวกด้านการ
 17.12 ภาคีสามารถด าเนินมาตรการที่เห็นว่าจ าเป็นส าหรับการปกป้องผลประโยชน์ด้านความมั่นคงที่  สื่อสารระหว่างภาคี จ านวน 1 จุด และแจ้งให้ภาคีอื่นทราบ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ
 จ าเป็น (essential security  interests)  ของตน ได้แก่ เกี่ยวกับวัสดุที่สามารถแตกตัวทางอะตอมหรือวัสดุที่

 เกิดขึ้นจากวัสดุนั้น เกี่ยวกับการค้าอาวุธ ยุทธภัณฑ์ และเครื่องมือเกี่ยวกับการสงคราม และการค้าสินค้าและวัสดุ  บทที่ 19 การระงับข้อพิพาท
 อื่น หรือเกี่ยวกับการให้บริการ ซึ่งกระท าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อความมุ่งประสงค์ในการจัดหาให้แก่หน่วย       บทการระงับข้อพิพาท ประกอบด้วย 21 ข้อบท
 จัดตั้งทางทหาร ด าเนินการเพื่อปกป้องโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะไม่ว่าจะเป็นของรัฐหรือของเอกชน ซึ่งรวมถึง  19.1 ก าหนดกระบวนการส าหรับการหารือและระงับข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ
 โครงสร้างพื้นฐานด้านการติดต่อสื่อสาร พลังงาน และประปา ด าเนินการในยามฉุกเฉินภายใน หรือในยาม  โปร่งใส เพื่อระงับข้อพิพาทที่เกิดขึ้นภายใต้ความตกลง
 สงคราม หรือในยามฉุกเฉินอื่น  ๆ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือ การปฏิบัติตามพันธกรณีของตน  19.2 ภาคีผู้ถูกฟ้องต้องเข้าสู่การปรึกษาหารือ หากภาคีผู้ฟ้องร้องขอ

 ภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติเพื่อการด ารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ   19.3 อนุญาตให้ภาคีผู้ฟ้องสามารถขอให้จัดตั้งคณะผู้พิจารณาเพื่อระงับข้อพิพาท ในกรณีที่ภาคีผู้ถูก
 17.13 ความตกลงฉบับนี้ไม่ใช้บังคับกับมาตรการทางภาษี  เว้นแต่ในกรณีที่ความตกลง  WTO ได้  ฟ้องไม่ตอบรับการหารือ หรือการหารือไม่สามารถแก้ไขข้อพิพาทได้ตามกรอบเวลา
 ก าหนดพันธกรณีเกี่ยวกับมาตรการทางภาษี และส าหรับพันธกรณีเรื่องการโอนภายใต้บทการลงทุน    19.4 อนุญาตให้ภาคีอื่นที่ไม่ได้ถูกฟ้องแต่สนใจประเด็นที่เป็นเรื่องพิพาทสามารถติดตามการระงับข้อ

 17.14 อนุญาตให้ภาคีออกมาตรการปกป้องชั่วคราวในกรณีที่ดุลการช าระเงินเกิดวิกฤติและการเงินการ  พิพาทได้ โดยเปิดโอกาสให้ประเทศเหล่านี้แสดงความเห็นในขั้นตอนการพิจารณาด้วย
 คลังอยู่ในสถานการณ์ยากล าบากหรือมีภัยคุกคาม โดยจะต้องสอดคล้องกับข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงิน  19.5 ก าหนดรายละเอียดของอ านาจหน้าที่ของคณะผู้พิจารณา กระบวนการพิจารณา การปฏิบัติตาม
 ระหว่างประเทศ (IMF)  และหลีกเลี่ยงความเสียหายอันไม่จ าเป็นต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการเงินของ  ค าตัดสิน การติดตามการปฏิบัติตามค าตัดสินรวมถึงการจัดตั้งคณะผู้พิจารณาเพื่อทบทวนการปฏิบัติตามค าตัดสิน
 ภาคีอื่น อีกทั้งจะต้องแจ้งโดยเร็วหากมีการเปลี่ยนแปลง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35