Page 33 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 33

- 30 -

                      ตารางที่ ๓ : สัดส่วนการเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่ไทยมีอยู่กับภาคี RCEP
                                                                                           หน่วยมูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
                         การเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่
                 ภาคี    จ านวน ร้อยละของ มูลค่าการ ร้อยละของมูลค่า  ตัวอย่างสินค้าที่ไทยเปิดตลาดเพิ่มเติมจากความตกลงการค้า
                RCEP     รายการ จ านวนสินค้า น าเข้าจาก  การน าเข้าจาก     เสรีที่ไทยมีอยู่กับภาคี RCEP
                         สินค้า   ทั้งหมด   RCEP    RCEP
              อาเซียน/
              ออสเตรเลีย                                 ไม่มีการเปิดตลาดเพิ่มเติม
              /นิวซีแลนด์
                                                              เครื่องยนต์และส่วนประกอบ สินค้าประมง ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า
                                                              เครื่องเพชรพลอยเทียม ยางนอกชนิดอัดลมที่หล่อดอกใหม่หรือที่
              เกาหลี     ๔๕๖     4.8    ๕,461       ๓.๘
                                                              ใช้แล้ว รถบรรทุก ผลิตภัณฑ์ที่ท าด้วยเหล็ก เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า
                                                              (เช่น ตู้แช่เย็น พัดลมอื่นๆ) สิ่งทอและเครื่องแต่งกาย
                                                              เมล็ดพืช หินทรายและหินอื่น ๆ ที่ใช้ในการก่อสร้าง กระดาษ
              จีน        ๕๙      0.6    ๒,๕๖๖       ๑.๘       หนังสือพิมพ์ หนังสือ เครื่องเพชรพลอยเทียม ท่อนเหล็ก แคโทด
                                                              ท่อนทองแดง เครื่องสูบน้ า ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า
              ญี่ปุ่น    ๑๐      0.1    ๑,๐๙๘       ๐.๘       เพลาส่งก าลัง ส่วนประกอบเครื่องยนต์ (หัวฉีด)


                     1.2 ข้อผูกพันการเปิดตลาดสินค้าของประเทศคู่เจรจาอาเซียนที่ให้กับอาเซียน
                          ประเทศคู่เจรจาอาเซียนได้ผูกพันการเปิดตลาดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเหมือนกันทุกประเทศ
               โดยมีสัดส่วนสินค้าที่น ามายกเลิกภาษีอยู่ระหว่างร้อยละ ๙๐.๔ – ๙๒ ของจ านวนรายการสินค้าทั้งหมด  และ

               ร้อยละ ๙๐.๙ – ๙๕.๒ ของมูลค่าการน าเข้าจาก RCEP
                          แต่ละประเทศคู่เจรจาอาเซียนมีการก าหนดรูปแบบข้อผูกพันทางภาษีของตนสรุปดังนี้
                              (๑) ออสเตรเลีย จะยกเลิกภาษีโดยลดเป็นศูนย์ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี

               (ระหว่าง ๓, ๗ และ ๑๐ ปี) และภายใน ๑๕ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเป็นศูนย์ภายใน ๒๐ ปีโดยเริ่มลดภาษีในปีที่ ๑๑
               ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะลดภาษีเหลือร้อยละ ๕ ในปีที่ ๑๐ ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                              (๒) นิวซีแลนด์ จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีเป็นศูนย์ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี
               และภายใน ๑๕ ปี ในขณะที่จะลดภาษีลงร้อยละ ๕๐ ในปีที่ ๑๑ (เหลือร้อยละ ๒.๕ และร้อยละ ๕) ส าหรับสินค้า
               อ่อนไหว และจะลดภาษีลงร้อยละ ๕๐ แต่อัตราภาษีสุดท้ายจะไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๕ ในปีที่ ๑๖ (เหลือร้อยละ ๕)

               ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                              (๓) เกาหลี จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีเป็นศูนย์ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี
               ภายใน ๑๕ ปีและภายใน ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีลงร้อยละ ๕๐ ภายใน ๒๐ ปี (เหลือร้อยละ ๑ – ๑๕ )

               ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง จะลดภาษีลงร้อยละ ๒๕ ภายใน ๒๐ ปี (เหลือร้อยละ 2.3 –
               33.8) หรือคงอัตราภาษีฐานการเจรจาไว้
                              (๔) ญี่ปุ่น จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีเป็นศูนย์ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๑ ปี
               ภายใน ๑๖ ปีและภายใน ๒๑ ปี ในขณะที่จะลดภาษีตามอัตราภาษีที่ก าหนดในตารางเหลือร้อยละ ๓.๘ – ๑๐

               ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับหรือภายใน ๑๑ ปีส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะคงอัตราภาษีฐานการเจรจา
               ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง
                              (๕) จีน จะยกเลิกภาษีโดยลดภาษีเป็นศูนย์ทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ภายใน ๑๐ ปี
               ภายใน ๑๕ ปีและภายใน ๒๐ ปี ในขณะที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ ๑.๕ – ๕ ส าหรับสินค้าอ่อนไหว และจะลด

               ภาษีเหลือร้อยละ ๕.๖ – ๔๘.๘ ส าหรับสินค้าอ่อนไหวสูง โดยมีรูปแบบการลดภาษีส าหรับสินค้าอ่อนไหวและ
               สินค้าอ่อนไหวสูงแบ่งเป็น (๑) ลดภาษีลงเหลือร้อยละ ๕ ตั้งแต่ความตกลงมีผลใช้บังคับ (๒) ลดภาษีตามอัตรา
               ภาษีที่ก าหนดไว้ในตารางตั้งแต่ความตกลงมีผลใช้บังคับ (๓) ลดภาษีลงร้อยละ ๒๕ ภายใน ๑๐ ปี (๔) ลดภาษีลง
               ร้อยละ ๔๐ ตั้งแต่ความตกลงมีผลใช้บังคับ และ (๕) ลดภาษีลงร้อยละ ๕๐ ตั้งแต่ความตกลงมีผลใช้บังคับ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38