Page 26 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 26
- 22 - - 23 -
โฆษณาค าขอรับสิทธิบัตรโดยเร็วเมื่อพ้น 18 เดือนนับจากวันยื่นค าขอ และการให้ภาคีคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่โดย ส าหรับไทย ในการปฏิบัติตามพันธกรณีเรื่องการเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาว่าด้วยลิขสิทธิ์ขององค์การทรัพย์สินทาง
กฎหมายเฉพาะที่มีประสิทธิภาพ ปัญญาโลก และ 5 ปี นับแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับส าหรับไทย ในการปฏิบัติตามพันธกรณีเรื่อง (1) การ
11.6 การออกแบบอุตสาหกรรม เช่น ให้ภาคีคุ้มครองการออกแบบอุตสาหกรรมซึ่งถูกสร้างสรรค์ขึ้น เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (2) สิทธิแต่เพียง
อย่างอิสระที่เป็นแบบใหม่หรือต้นฉบับ และยืนยันการให้ความคุ้มครองการออกแบบบางส่วนหรือให้ผู้ตรวจสอบ ผู้เดียวของนักแสดง (3) สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนส าหรับการแพร่เสียงแพร่ภาพ ในส่วนที่เกี่ยวกับนักแสดง
พิจารณาส่วนที่ส าคัญของการออกแบบในการรับจดทะเบียน และให้ภาคีตระหนักว่าข้อมูลที่ปรากฏต่อ (4) การประกาศโฆษณาค าขอรับสิทธิบัตร 18 เดือนนับจากวันยื่นค าขอ และ (5) การท าลายของกลางละเมิด
สาธารณชนทางอินเทอร์เน็ตอาจเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบที่ปรากฏอยู่แล้วได้ ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้าในคดีแพ่ง ตามที่ระบุในภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี) และให้
11.7 ทรัพยากรพันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมดั้งเดิม (GRTKF) ระบุว่า ภาคีที่ขอระยะเวลาปรับตัวแจ้งความคืบหน้าการด าเนินการตามพันธกรณีก่อนระยะเวลาปรับตัวสิ้นสุดลง
ภาคีอาจมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อปกป้อง GRTKF ให้ภาคีเผยแพร่กฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 11.13.2 ให้ภาคีให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคที่จ าเป็นส าหรับการปฏิบัติตามบทบัญญัติบาง
รวมทั้งส่งเสริมให้มีการพิจารณาเอกสารและใช้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร ประการในบทนี้แก่ภาคีที่แจ้งความประสงค์ไว้ ได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม ตามที่ระบุใน
พันธุกรรม ตลอดจนเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกแจ้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กระบวนการตรวจสอบสิทธิบัตรเป็นไป ภาคผนวก 11 บี (รายการร้องขอความช่วยเหลือทางเทคนิค)
อย่างมีคุณภาพ 11.14 ประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการ ให้ภาคีตระหนักถึงความส าคัญของการปรับปรุงและพัฒนา
11.8 การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม ให้ภาคีมีการป้องกันการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมตามอนุสัญญากรุงปารีส กระบวนการด้านทรัพย์สินทางปัญญาและพยายามปรับปรุงกระบวนการส าหรับการบริหารจัดการสิทธิใน
ให้ภาคีมีกระบวนการระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับชื่อโดเมนและการเยียวยากรณีชื่อโดเมนเหมือนหรือคล้ายกับ ทรัพย์สินทางปัญญา และพยายามปรับปรุงข้อก าหนดเรื่องการรับรองค าแปลส าหรับค าขอรับสิทธิบัตรและการ
เครื่องหมายการค้าโดยมิชอบ การคุ้มครองข้อมูลที่ไม่เปิดเผยตามความตกลงทริปส์ ยืนยันลายมือชื่อส าหรับค าขอรับสิทธิบัตร สิทธิบัตรออกแบบ และเครื่องหมายการค้า
11.9 ชื่อประเทศ ให้ภาคีมีวิธีการทางกฎหมายส าหรับผู้มีส่วนได้เสียในการป้องกันการใช้ชื่อประเทศ
ของภาคีกับสินค้าในเชิงพาณิชย์ในลักษณะที่จะท าให้ผู้บริโภคหลงผิดในแหล่งก าเนิดของสินค้านั้น บทที่ 12 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
11.10 การบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ให้ภาคีมีกระบวนการบังคับใช้สิทธิทั้งทางแพ่งและ บทพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 17 ข้อบท (แบ่งเป็น 5 ส่วนส าคัญ ได้แก่ บทบัญญัติทั่วไป
อาญา ตลอดจนมาตรการ ณ จุดผ่านแดน รวมทั้งยืนยันว่ามีกระบวนการบังคับใช้สิทธิทั้งทางแพ่งและอาญา การอ านวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การ
ส าหรับการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิข้างเคียงและการละเมิดเครื่องหมายการค้าบนสภาพแวดล้อมดิจิทัล เพื่อให้มี ส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน และบทบัญญัติอื่นๆ)
การด าเนินการกับการละเมิดอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีกระบวนการที่เป็นธรรม ไม่ยุ่งยากหรือมีค่าใช้จ่ายเกินควร 12.1 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน
และให้ภาคีค านึงถึงความได้สัดส่วนระหว่างความร้ายแรงของการละเมิดกับการเยียวยาและโทษ รวมทั้ง ระหว่างภาคี สร้างสภาพแวดล้อมแห่งความมั่นใจและความเชื่อมั่นในการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และส่งเสริม
ผลประโยชน์ของบุคคลภายนอก ความร่วมมือระหว่างภาคีเกี่ยวกับการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
11.11 ความร่วมมือและการปรึกษาหารือ ให้ภาคีมีความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้ง 12.2 ให้มีการส่งเสริมการค้าไร้กระดาษ โดยภาคีจะพยายามยอมรับผลทางกฎหมายของเอกสารการ
มีการหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันเพื่อการปฏิบัติตามข้อบทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้มีความร่วมมือ ด าเนินการทางการค้าที่ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เท่าเทียมกับเอกสารฯ ในรูปแบบกระดาษ และต้องไม่ปฏิเสธผล
ด้านมาตรการ ณ จุดผ่านแดน เพื่อก าจัดการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้ง ทางกฎหมายของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอนุญาตให้เลือกใช้การระบุตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม
ให้พยายามมีความร่วมมือด้านการสร้างเสริมการรับรู้เรื่องทรัพย์สินทางปัญญา ความร่วมมือระหว่างส านักงาน โดยค านึงถึงบรรทัดฐานระหว่างประเทศ
สิทธิบัตรของภาคีเพื่ออ านวยความสะดวกการแลกเปลี่ยนผลการค้นหาและการตรวจสอบ ความร่วมมือด้านการ 12.3 ภาคีต้องมีกฎหมายและกฎระเบียบในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคออนไลน์จากการกระท าที่ฉ้อฉล
แลกเปลี่ยนข้อมูลแนวทางการป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์และด้านข้อยกเว้นการสูญเสียความใหม่จากการ และหลอกลวง การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์โดยค านึงถึงแนวทางระหว่างประเทศ การจัดการกับ
เปิดเผยสาระส าคัญหรือรายละเอียดของการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตร นอกจากนี้ ภาคีอาจมีความร่วมมือด้าน ข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์ และการก ากับดูแลธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยค านึงถึง
ระบบการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ กระบวนการและขั้นตอนการขอรับสิทธิบัตร สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และการ กฎหมายแม่แบบที่เกี่ยวข้อง
ฝึกอบรมผู้ตรวจสอบสิทธิบัตรในการตรวจสอบค าขอที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร 12.4 ให้ภาคียกเว้นภาษีศุลกากรส าหรับการส่งผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่ก าหนดไว้ภายใต้ WTO
พันธุกรรม ทั้งนี้ ไม่ได้ห้ามภาคีจัดเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ส าหรับการส่งผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
11.12 ความโปร่งใส ให้ค าพิพากษาสุดท้ายและค าสั่งทางปกครองที่มีผลเป็นการทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิใน 12.5 ให้มีการเผยแพร่กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อความโปร่งใส โดยทันทีเท่าที่จะเป็นไปได้ รวมถึงบน
ทรัพย์สินทางปัญญาได้รับการเผยแพร่หรือจัดให้มีไว้แก่สาธารณะ อย่างน้อยในภาษาทางการของภาคี และให้ อินเทอร์เน็ตหากเป็นไปได้
พยายามเผยแพร่หรือท าให้ปรากฏทางอินเทอร์เน็ตหากกระท าได้ นอกจากนี้ ยังให้ภาคีเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับค าขอ 12.6 ให้ร่วมกันเสริมสร้างความสามารถของหน่วยงานด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมถึงผ่าน
การขึ้นทะเบียนและสถานะของการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเท่าที่จะกระท าได้ภายใต้กฎหมายและระเบียบ การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีเลิศ โดยใช้กลไกความร่วมมือที่มีอยู่แล้ว
ข้อบังคับของตน 12.7 ให้มีการส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน โดยภาคีจะต้องไม่ก าหนดต าแหน่งอุปกรณ์
11.13 ระยะเวลาปรับตัวและความช่วยเหลือทางเทคนิค สารสนเทศไว้ในประเทศ และไม่ขัดขวางการโอนข้อมูลข้ามพรมแดนด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ มีข้อยกเว้น
11.13.1 ยืนยันระยะเวลาปรับตัวของภาคีประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (กัมพูชา สปป. ลาว เมียนมา) เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ในการด าเนินนโยบายสาธารณะที่สมเหตุผลและไม่รวมถึงสาขาบริการทางการเงิน
ในการปฏิบัติตามความตกลงทริปส์ตามที่ได้รับภายใต้ WTO และให้ระยะเวลาปรับตัวส าหรับ กัมพูชา สปป. ลาว 12.8 ให้มีความร่วมมือเพื่อช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้เอาชนะอุปสรรคต่อการใช้
มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม ในการชะลอการปฏิบัติตามบทบัญญัติบางประการ ซึ่งระบุ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ระยะเวลาตั้งแต่ 3 ถึง 15 ปี โดยในส่วนของไทยมีระยะเวลาปรับตัว 3 ปี นับแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ