Page 24 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 24

- 20 -                                                    - 21 -

 (8) ข้อยกเว้นด้านความมั่นคงให้ภาคีสามารถด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูลที่ตนเห็นว่าจะขัด  11.1 บทบัญญัติทั่วไปและหลักการพื้นฐาน ระบุวัตถุประสงค์ของบททรัพย์สินทางปัญญา
 ต่อผลประโยชน์ด้านความมั่นคงที่ส าคัญและการบ ารุงรักษาหรือฟื้นฟูสันติภาพหรือความมั่นคงระหว่างประเทศได้   ความสัมพันธ์กับความตกลงทริปส์  รวมทั้งหลักการต่าง ๆ อาทิ การสิ้นไปซึ่งสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
 10.3 การเปิดเสรีการลงทุน ให้นักลงทุนของภาคีเข้ามาลงทุนในสาขาที่ไม่ใช่บริการ (non-service   การประติบัติเยี่ยงคนชาติ การยืนยันสิทธิการใช้ความยืดหยุ่นตามปฏิญญาโดฮาว่าด้วยความตกลงทริปส์และการ
 sectors) ภายใต้สาขาการเกษตร ประมง เหมืองแร่ ป่าไม้ และการผลิต โดยจัดท ารายการข้อสงวนในรูปแบบ   สาธารณสุข นอกจากนี้ ยังก าหนด (1) ความตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่ภาคีจะต้องเข้าเป็น

 Negative List Approach ซึ่งสามารถระบุในส่วนของการสงวนสิทธิของภาคีในการใช้มาตรการของรัฐบาลที่ไม่  ภาคี ซึ่งได้แก่ อนุสัญญากรุงปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม (Paris Convention)  อนุสัญญา
 สอดคล้องกับพันธกรณีไว้ในรายการ เอ (List A) และการสงวนสิทธิของภาคีในการปรับเปลี่ยนมาตรการต่าง ๆ ใน  กรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม (Berne Convention) สนธิสัญญาความร่วมมือด้าน
 อนาคตไว้ในรายการ บี (List B) และก าหนดให้ผูกพัน (1) กลไก Ratchet หมายถึง การให้สิทธิประโยชน์กับนัก  สิทธิบัตร  (Patent Cooperation  Treaty) พิธีสารความตกลงกรุงมาดริดว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องหมาย

 ลงทุนของภาคีโดยอัตโนมัติ หากกฎหมายภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้เสรีมากยิ่งขึ้น ซึ่งไม่สามารถแก้ไข  ระหว่างประเทศ (Madrid Protocol) สนธิสัญญาว่าด้วยลิขสิทธิ์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO
 กฎหมายให้เข้มงวดกว่าที่ระบุไว้ได้ โดยกลไกดังกล่าวจะมีผลผูกพันในอีก 5 ปี หลังจากความตกลงฉบับนี้มีผลใช้  Copyright Treaty) สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO
 บังคับ ส าหรับออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี นิวซีแลนด์ บรูไนดารุสซาลาม สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ทั้งนี้   Performances  and Phonograms Treaty) และสนธิสัญญามาร์ราเคชเพื่ออ านวยความสะดวกในการเข้าถึง
 กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว เมียนมา และฟิลิปปินส์ ไม่ผูกพันกลไก Ratchet ซึ่งจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จากกลไกนี้  งานที่มีการโฆษณาแล้ว ส าหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการทางสื่อสิ่งพิมพ์ (Marrakesh

 จากภาคีอื่น และ (2) หลักการการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-Favoured Nation   Treaty) (2) ความตกลงที่ภาคีจะต้องพยายามเข้าเป็นภาคี ซึ่งได้แก่ สนธิสัญญากรุงบูดาเปสต์ว่าด้วยการยอมรับ
 Treatment: MFN) หมายถึง การให้สิทธิประโยชน์กับนักลงทุนและการลงทุนของภาคีโดยอัตโนมัติ หากรัฐได้  ระหว่างประเทศซึ่งการฝากเก็บจุลชีพส าหรับขั้นตอนการจดทะเบียนสิทธิบัตร (Budapest Treaty) และ
 ขยายสิทธิประโยชน์ที่ดีกว่าที่ให้ในความตกลงฉบับนี้แก่การลงทุนและนักลงทุนจากประเทศนอกภาคี โดยภาคีที่  (3)  ความตกลงที่ภาคีสามารถขอความร่วมมือจากภาคีอื่นหากประสงค์เข้าเป็นภาคี ซึ่งได้แก่ อนุสัญญาระหว่าง
 ผูกพันหลักการนี้ ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี นิวซีแลนด์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย   ประเทศว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ ปี 1991 (UPOV  1991)  กรรมสารกรุงเจนีวาของความตกลงกรุงเฮกว่า

 ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ทั้งนี้ ส าหรับ กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ไม่ผูกพันหลักการนี้และจะไม่ได้รับ  ด้วยการจดทะเบียนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระหว่างประเทศ (Hague Agreement) อนุสัญญา
 การขยายสิทธิประโยชน์ที่ภาคีอื่นให้กับประเทศนอกภาคี    ระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองนักแสดง ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียง และองค์กรแพร่เสียงแพร่ภาพ (Rome
 10.4 การส่งเสริมการลงทุน ภาคีจะต้องพยายามส่งเสริมและร่วมมือกันเพื่อท าให้ภูมิภาคเป็นที่รู้จักมาก  Convention) และสนธิสัญญาสิงคโปร์ว่าด้วยกฎหมายเครื่องหมายการค้า (Singapore Treaty)
 ขึ้นในฐานะเขตการลงทุนโดยการส่งเสริมการลงทุนระหว่างกลุ่มภาคี การจัดกิจกรรมการส่งเสริมการลงทุนร่วมกัน   11.2 ลิขสิทธิ์และสิทธิข้างเคียง เช่น ให้ภาคีให้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวแก่ผู้สร้างสรรค์ นักแสดง ผู้ผลิต

 การส่งเสริมงานการจับคู่ธุรกิจ การจัดงานรายงานสรุปและการสัมมนาเกี่ยวกับโอกาสการลงทุน และเกี่ยวกับ  สิ่งบันทึกเสียงและองค์กรแพร่เสียงแพร่ภาพ ให้สิทธิแก่นักแสดงและผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงในการได้รับค่าตอบแทน
 กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และนโยบายการลงทุน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นอื่นที่มีความสนใจ  ส าหรับการแพร่เสียงแพร่ภาพ ให้มีการป้องกันการหลบเลี่ยงมาตรการทางเทคโนโลยีและการคุ้มครองข้อมูล
 ร่วมกัน       บริหารสิทธิ ให้ภาคีมีกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือนโยบายที่เหมาะสมในการให้รัฐบาลกลางของตนใช้เพียง
 10.5 การอ านวยความสะดวกการลงทุน ภาคีจะต้องพยายามอ านวยความสะดวกการลงทุนระหว่างกัน   เฉพาะซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ไม่ละเมิด ให้ภาคีพยายามส่งเสริมการจัดตั้งองค์กรจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์และส่งเสริม

 โดยการสร้างสภาวะแวดล้อมที่จ าเป็นส าหรับการลงทุนในทุกรูปแบบ การท าให้กระบวนการส าหรับการยื่นค าขอ  ให้มีการด าเนินงานที่เป็นธรรมและโปร่งใส และให้ภาคีพยายามมีมาตรการเพื่อคุ้มครองสัญญาณดาวเทียม
 และการอนุมัติการลงทุนของตนง่ายขึ้น การส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลด้านการลงทุน รวมถึงกฎเกณฑ์ กฎหมาย   ถ่ายทอดรายการที่ถูกเข้ารหัสไว้
 ระเบียบข้อบังคับ นโยบาย และกระบวนการด้านการลงทุน และการจัดตั้งจุดติดต่อ (contact points) ศูนย์การ  11.3 เครื่องหมายการค้า เช่น ให้ภาคีให้เครื่องหมายหรือกลุ่มของเครื่องหมายที่สามารถแสดงได้ว่า
 ลงทุนแบบเบ็ดเสร็จ (one-stop  investment centres)  ผู้ประสานงานหลัก (focal point)  เพื่อให้ความ  สินค้าและบริการของบุคคลหนึ่งนั้นแตกต่างจากสินค้าและบริการของบุคคลอื่น สามารถเป็นเครื่องหมายการค้าได้

 ช่วยเหลือและให้ค าปรึกษาแก่นักลงทุน รวมถึงการอ านวยความสะดวกเกี่ยวกับใบอนุญาตด าเนินงาน และ  และห้ามภาคีก าหนดเงื่อนไขให้เครื่องหมายการค้าที่จะได้รับการจดทะเบียนต้องเป็นเครื่องหมายที่ปรากฏแก่
 ใบอนุญาตต่าง ๆ นอกจากนี้ ภาคีอาจให้การช่วยเหลือเพื่อหาทางออกเกี่ยวกับข้อร้องเรียนหรือปัญหาต่าง  ๆ ที่  สายตา หรือปฏิเสธการรับจดทะเบียนเครื่องหมายที่ประกอบด้วยเสียงเพียงอย่างเดียว ให้ภาคีมีระบบยื่นค าขอ
 อาจเกิดขึ้นหลังจากที่นักลงทุนได้เข้าไปลงทุนแล้ว   อิเล็กทรอนิกส์และฐานข้อมูลเครื่องหมายการค้าออนไลน์ และให้มีกระบวนการจดทะเบียนที่รวมถึงโอกาสในการ

 10.6 ภาคีจะต้องเข้าร่วมหารือเรื่องการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ และมาตรการด้านภาษีซึ่ง  ยื่นคัดค้านหรือเพิกถอน และโอกาสในการยื่นอุทธรณ์ ให้ภาคีให้การคุ้มครองเครื่องหมายการค้าที่มีชื่อเสียง
 ถือเป็นการเวนคืน ภายใน 2 ปีหลังจากวันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ และจะต้องสรุปการหารือภายใน 3 ปี นับ  แพร่หลายทั่วไป การให้อ านาจเจ้าหน้าที่พิจารณาปฏิเสธค าขอหรือเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่
 จากวันที่เริ่มการหารือ   ถูกยื่นโดยมีเจตนาไม่สุจริตได้
                       11.4 สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ครอบคลุมหลักการเรื่องกระบวนการและความโปร่งใสของการให้
 บทที่ 11 ทรัพย์สินทางปัญญา     ความคุ้มครอง GI  ทั้งผ่านกระบวนการภายในประเทศปกติ อาทิ ให้ภาคีรับค าขอจดทะเบียน GI  โดยไม่ต้อง

      บททรัพย์สินทางปัญญา ประกอบด้วย 83 ข้อบท (แบ่งเป็น 12 ส่วนส าคัญ ได้แก่ บทบัญญัติทั่วไป  ให้รัฐบาลของภาคีอื่นเป็นผู้ยื่นในนามประชาชนของตน เปิดโอกาสให้มีการคัดค้านค าขออย่างน้อยด้วยเหตุว่า
 และหลักการพื้นฐาน ลิขสิทธิ์และสิทธิข้างเคียง เครื่องหมายการค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ สิทธิบัตร การ  GI  นั้นเป็นชื่อสามัญของสินค้า และให้มีกระบวนการเพิกถอนการคุ้มครอง นอกจากนี้ ยังก าหนดเกี่ยวกับความ
 ออกแบบอุตสาหกรรม ทรัพยากรพันธุกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมดั้งเดิม การ  โปร่งใสของกระบวนการคุ้มครอง GI ผ่านความตกลงระหว่างประเทศ

 แข่งขันที่ไม่เป็นธรรม ชื่อประเทศ การบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ระยะเวลาปรับตัวและความ  11.5 สิทธิบัตร ครอบคลุมพันธกรณีเกี่ยวกับสิ่งที่สามารถจดสิทธิบัตรได้ ข้อยกเว้นการจดสิทธิบัตร
 ช่วยเหลือทางเทคนิค ประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการ) ภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรับตัวเฉพาะภาคี) และ  สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรและข้อยกเว้น การให้ภาคีตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคุณภาพและ
 ภาคผนวก 11 บี (รายการข้อเรียกร้องความช่วยเหลือทางเทคนิค)   ประสิทธิภาพของกระบวนการและขั้นตอนการจดสิทธิบัตร รวมทั้งให้มีระบบสิทธิบัตรที่รวมถึงโอกาสในการยื่น
               คัดค้านและเพิกถอนสิทธิบัตร การส่งเสริมให้ภาคีใช้ระบบรับค าขอแบบอิเล็กทรอนิกส์ การให้ภาคีประกาศ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29