Page 76 - การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการ เพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
P. 76

67

                                                              การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการเพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ


                                 3. Consequence
                                                           ่
                                 หมายถึง      พฤติกรรมทีแสดงตอบโต้ออกมาในแต่ละบุคคล
                                                                      ่
                                 ไม่ว่าจะทางอารมณ์หรือโดยท่าทีทีแสดงออกมาพฤติกรรม
                                                                 ้
                                  ่
                                                                            ่
                                 ทีคนเราแสดงตอบโต้ออกมานันเป็ นผลทีมาจาก  ระบบความ
                                   ่
                                                        ่
                                                                                    ้
                                 เชือของแต่ละบุคคลทีมีความคิดต่อเหตุการณ์นัน
                              3. C ผลที่ตามมา (Consequences) ผู้รับค�ปรึกษาจะเริ่มต้น
                              ในช่วงแรกด้วยผลที่ตามมาจนอาจท�ให้ผู้ให้ค�ปรึกษาอาจจะเกิด

                              ความสับสน  ในการแยกแยะระหว่างความเชื่อและผลที่ตามมา

                              ความแตกต่างประการหนึ่ง  คือ  ความรู้สึกเป็นสิ่งที่ไม่สามารถ

                              ถูกโต้แย้งได้ ความรู้สึกนั้นเป็นประสบการณ์ ในขณะที่ความเชื่อ

                              สามารถได้รับการโต้แย้งได้ ขณะที่จัดการกับความรู้สึกนั้น ผู้รับ

                              ค�ปรึกษาอาจจะไม่ชัดเจนเกี่ยวกับอารมณ์ การระบุอารมณ์ผิด ๆ

                              ผลที่ตามมาสามารถถูกเปลี่ยนได้ด้วยการเปลี่ยนความเชื่อที่ท�ให้

                              ผู้รับค�ปรึกษาเข้าใจเรื่องราวมากขึ้น




                                   4.1.5 ทักษะที่ใช้ในการให้ความช่วยเหลือ

                                   1) การสร้างค�พูดกับตัวเองเพื่อรับสถานการณ์ (Coping self-

                              statements)  โดยการพัฒนาค�พูดในการแก้ปัญหา  ความเชื่อ

                              ที่มีเหตุผลจะเกิดความเข้มแข็งขึ้น  ตัวอย่างเช่น  สถานการณ์ที่

                              ต้องพูดซึ่งอาจมีความกลัวกังวลในที่สาธารณะ  อาจจะบันทึก

                              และพูดซ�้ากับตัวเองเกี่ยวกับสถานการณ์นั้นหลาย ๆ ครั้งต่อวัน

                              เช่น “ฉันต้องการพูดโดยไม่มีการผิดพลาด แต่ไม่เป็นไรหากฉัน

                              จะพูดผิดพลาดบ้าง” “ไม่มีใครมาท�อะไรฉันได้หากฉันพูดไม่เก่ง”

                              “ฉันเป็นคนที่พูดได้อย่างชัดเจน”

                                   2) การกล่าวถึง (Referencing) วิธีการนี้มีประโยชน์ส�หรับ

                              บุคคลที่มีความอดทนต�่าต่อความคับข้องใจ ซึ่งอาจจะถูกสอนให้

                              คิดอย่างจริงจังเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียเหล่านี้ 10 หรือ 20 อย่าง

                              กิจกรรมนี้จะท�ให้เกิดเหตุผลที่ดีเกี่ยวกับการเอาชนะความคิด

                              ความเชื่อบางอย่าง
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81