Page 120 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 120
1.3 การสร้างธนาคารโรงเรียนต้นแบบ
Creation of Model School Banks
ธนาคารโรงเรียนต้นแบบ เป็นการนำาแนวคิดการพัฒนาสู่ความยั่งยืน (Sustainable Development : SD) มาประยุกต์ใช้
กับการดำาเนินโครงการธนาคารโรงเรียน เริ่มตั้งแต่ปี 2560-2563 รวมระยะเวลา 4 ปี เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังวินัยการออม
รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ทางการเงินให้กับเยาวชนที่จะเติบโตไปเป็นทรัพยากรสำาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศชาติ
ในอนาคต ยกระดับชุมชนสมาชิกธนาคารโรงเรียน ให้เป็นชุมชนต้นแบบการออมโดยสร้างความสมดุลทั้ง 3 ด้าน หรือที่เรียกว่า
Triple Bottom Line ประกอบไปด้วย 1. ด้านเศรษฐกิจ (Economic)
2. ด้านสังคม (Social)
3. ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment)
ปี 2560 ธนาคารคัดเลือกสมาชิกธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน จากจำานวนทั้งสิ้น 1,256 แห่ง เพื่อเป็นธนาคาร
โรงเรียนต้นแบบ และมีโรงเรียนที่มีความเหมาะสมเป็นธนาคารโรงเรียนต้นแบบ จำานวน 9 แห่ง นำามาถอดองค์ความรู้
ด้านส่งเสริมการออมและสร้างวินัยทางการเงิน ส่งต่อให้กับสมาชิกธนาคารโรงเรียนอื่น ๆ
ปี 2561 เพื่อให้ธนาคารโรงเรียนต้นแบบ ได้สร้างเสริมจริยธรรม คุณธรรม เยาวชนมีความประพฤติและการปฏิบัติตน
ทำาในสิ่งที่ดีและเป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม นอกเหนือจากปลูกฝังและส่งเสริมการมีวินัยการออมและการพัฒนาสู่
ความยั่งยืน โดยโรงเรียนต้องส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรมด้วย ทั้งนี้ จะพิจารณาจากโรงเรียน
ที่ได้รับรางวัลส่งเสริมการออม ระหว่างปี 2556-2560 และมีการดำาเนินงานโครงการและกิจกรรมอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ
นโยบายด้านการพัฒนาสู่ความยั่งยืน “ออมสินสร้างโลกชมพู” ภายใต้บริบทที่ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
ที่ครอบคลุมผลกระทบ 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีสมาชิกธนาคารโรงเรียนที่ร่วมส่งเสริมและปลูกฝัง
วินัยการออม รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ทางการเงิน ตามแนวทางการพัฒนาสู่ความยั่งยืน จำานวน 255 แห่ง และธนาคารได้
คัดเลือกธนาคารโรงเรียนต้นแบบ ประจำาปี 2561 ที่มีความเหมาะสม จำานวน 13 แห่ง
ปี 2562 ธนาคารออมสินนำา 13 ธนาคารโรงเรียนต้นแบบมาเป็นกรณีศึกษาและตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
ถอดองค์ความรู้จากธนาคารโรงเรียนต้นแบบ ส่งต่อให้กับสมาชิกโครงการธนาคารโรงเรียนอื่น ๆ มากกว่า 400 แห่ง
โดยตั้งเป้าภายในปี 63 จะส่งต่อองค์ความรู้เหล่านี้ให้กับธนาคารโรงเรียนที่เหลือจนครบ 1,240 แห่ง
ปี 2563 ธนาคารออมสินนำา 22 ธนาคารโรงเรียนต้นแบบที่ประสบความสำาเร็จ (ปี 2560-2561) จัดทำาหนังสือ
ธนาคารโรงเรียนต้นแบบฉบับรวมเล่มส่งมอบให้กับสถานศึกษาที่เป็นสมาชิกธนาคารโรงเรียน จำานวน 800 แห่ง
During 2017-2020 (total 4 years), GSB has created Model School Banks under the concept of Sustainable
Development (SD) to promote and cultivate savings discipline as well as disseminate financial literacy to youth
and children who will grow up to be an important resource for future economic and national development, uplifting
communities of School Bank members to be model savings communities by creating balance in 3 areas, known as
the Triple Bottom Line, consisting of 1. Economic
2. Social
3. Environment
In 2017, the Bank selected 1,256 members of GSB School Banks to be Model School Banks. In addition,
the Bank analyzed and disseminate technique of 9 School Banks with successful operations, to promote savings and
create financial discipline to other School Bank members.
In 2018, the School Banks have fostered ethics, morality, and encouraged youth and children to do good deeds and
contribute to society and the general public. In addition to cultivating and promoting savings discipline and sustainable
development, the School Banks also support and organize moral and ethical activities. In this regard, the Bank will
consider schools that have received the Savings Promotion Award during the year 2013-2017 and have implemented
projects and other activities in accordance with Sustainable Development Policy “Om Sin Sang Lok Chompoo” under
the context that responds to the Sustainable Development Goals (SDGs) covering three impacts, namely economy,
society and environment. There were 255 School Bank members who participated in promotion and foster savings
discipline, dissemination of financial knowledge in accordance with sustainable development guidelines and 3 principles
of savings. Moreover, the Bank has selected 13 Model School Banks for the year 2018.
114 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม GSB SOCIAL BANK