Page 101 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 101

โดยการศึกษาวิเคราะห์ และพัฒนานำาองค์ความรู้ และนวัตกรรมสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหา
               ประกอบด้วย การจัดการทรัพยากร การจัดการผลิตภัณฑ์และตรายี่ห้อ การปรับปรุงและ พัฒนากระบวนการผลิต การวางแผนการ
               เงิน จัดทำาบัญชีต้นทุน และบัญชีรายรับ - รายจ่าย การจัดการด้านการตลาดโดยเพิ่มช่องทางการจัดจำาหน่าย ทั้งทาง Online และ
               Offline ที่ไม่เพียงแต่สนับสนุนเงินทุนในการทำาประโยชน์ให้กับชุมชน แต่เป็นการแบ่งปันองค์ความรู้ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
               เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนด้วยการร่วมเรียน ร่วมรู้ และร่วมทำา


                                       หน่วยงานภาคีพันธมิตรที่ร่วมขับเคลื่อนการทำางานร่วมกัน




               • กรมการพัฒนาชุมชน                                • องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว
               • กรมส่งเสริมการเกษตร                               อย่างยั่งยืน สำานักพัฒนาสังคมกรุงเทพมหานคร
               • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)   • บริษัท Local Alive
               • การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย                      • สำานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
               • แอร์บีแอนด์บี                                   • กลุ่มอาสาสมัครทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
               • กรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย     • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล
               • สำานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล                • ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด
               • สมาคมเพื่อนชุมชน                                • ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสทิวัล
               • กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)




                             สรุปผลการดำาเนินโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ประจำาปี 2563



                       ในปี 2563 มี 312 กลุ่มชุมชน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ และสร้าง
                    มูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ โดยมี 210 กลุ่มชุมชน คิดเป็นร้อยละ 67.30 ที่มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
                    นอกจากนี้ธนาคารออมสินได้ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการเงินให้แก่สมาชิกกลุ่มองค์กรชุมชน ประกอบด้วย
                    การเปิดบัญชีใหม่, Mymo, บัตรเดบิต, บัตรเครดิต, สลากออมสิน, สลากดิจิทัล, บัตรกดเงินสด, ประกันชีวิตเพื่อสังคม,
                    สินเชื่อธนาคารประชาชน, สินเชื่อออมสุขใจ, สินเชื่อผู้ประกอบการโฮมสเตย์, สินเชื่อผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19,
                    สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท (กลุ่มองค์กรชุมชน หรือ วิสาหกิจชุมชน) จำานวน 1,955 บัญชี จาก 190 กลุ่มองค์กรชุมชน
                    คิดเป็นร้อยละ 60.89 ของกลุ่มที่เข้ารับการพัฒนา


                                    67.30%                                       60.89%










                     สร้างโอกาสในการประกอบอาชีพโดยมี 210 กลุ่มชุมชน  ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการเงิน จาก 190 กลุ่ม
                          คิดเป็นร้อยละ 67.30 ที่มีรายได้เพิ่มขึ้น  คิดเป็นร้อยละ 60.89 ของกลุ่มที่เข้ารับการพัฒนา









                                                                        รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563  97
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106