Page 96 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 96
การดำาเนินงานที่สำาคัญ
กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ จำานวน 2,270 ราย
กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยเป้าหมาย มีผลการดำาเนินงานที่ดีขึ้น อาทิ
• รายได้/ยอดขายเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 20 เป็นจำานวนร้อยละ 95.73
• ขยายช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นร้อยละ 74.10
• การจัดทำาบัญชีรายรับ - รายจ่ายร้อยละ 24.93
กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยเป้าหมาย มีการพัฒนาความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 99.60
กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยเป้าหมาย มีการใช้บริการสินเชื่อร้อยละ 99.96
2.3 โครงการ “มหาวิทยาลัยประชาชน”
ตั้งแต่ปี 2561 ธนาคารร่วมมือสถาบันอุดมศึกษาตามภูมิภาคทั่วประเทศในการเป็น
เครือข่ายจัดทำาหลักสูตรการฝึกอบรมให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ภายใต้แนวคิด “ความรู้
สู่อาชีพ พร้อมเงินทุน” เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ นำาทักษะไปประกอบอาชีพ
สร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน เลิกพึ่งพาเงินกู้นอกระบบ ร่วมกันผลักดัน มีผู้เข้าร่วมผ่าน
การแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน ยกระดับรายได้ รวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินทุน การอบรมอาชีพ
ในระบบ ซึ่งรองรับมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยมีกลุ่ม 10,153
เป้าหมายหลักเป็นผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ ตามพื้นที่ของที่ตั้ง ราย
ของมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ โดยในปี 2563 มีจำานวนผู้เข้าร่วมผ่านการอบรมอาชีพ
จำานวน 10,153 ราย
3 การส่งเสริมความรู้ทางการเงินและสนับสนุนวินัยการออมให้กับผู้สูงวัย
3.1 โครงการ “ธนาคารผู้สูงวัย”
ธนาคารได้เปิดตัว “ธนาคารผู้สูงวัย” ไปเมื่อต้นไตรมาสที่ 2 ของปี 2560 เพื่อรองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยด้วยผลิตภัณฑ์
และบริการทางการเงินผู้สูงอายุ ดอกเบี้ยเงินฝากสูง และคิดดอกเบี้ยเงินกู้ตำ่า รวมถึงและกิจกรรมต่อเนื่องสำาหรับผู้สูงวัย
โดยเฉพาะ เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยให้ยังคงสามารถดำาเนินชีวิตโดยมีสถานะการเงินที่มีความมั่นคงในอนาคต
ที่จะมาถึง
92 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม