Page 111 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 111
2.2 สำาหรับผู้มีรายได้ประจำา
วงเงินสินเชื่อเพิ่มเป็นค่าใช้จ่ายเท่ากับ 5,000 ลบ. (มติ ครม. 24 มี.ค. 63 และ 18 ส.ค. 63)
• วงเงิน 50,000 บาท
• ดอกเบี้ย 0.35% ต่อเดือน
• ผ่อน 3 ปี
**ลงทะเบียนและทำานิติกรรมสัญญาให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 ธ.ค. 63**
2.3 มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจไทย
• วงเงิน 50,000 บาท/ราย
• ทำานิติกรรมสัญญา ภายใน 31 ต.ค. 63
• ดอกเบี้ย 0.50% ต่อเดือน
• ผ่อนสูงสุด 5 ปี (ปลอดชำาระหนี้ 6 เดือนแรก)
โดยวงเงินอนุมัติรวมผ่านสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำาหรับผู้มีอาชีพอิสระ และผู้มีรายได้ประจำา กับมาตรการช่วยเหลือ
ลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจไทย โดยมีลูกค้าบุคคลเข้าร่วม 1.84 ล้านราย คิดเป็นยอดสินเชื่ออนุมัติแล้ว
จำานวน 22,418 ล้านบาท
2.4 เสริมพลังฐานราก
วงเงินสินเชื่อจำานวน 10,000 ล้านบาท (มติ ครม. 18 ส.ค. 63 จัดสรรวงเงินจากสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำาหรับ
ผู้มีรายได้ประจำา)
• วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท/ราย
• ไม่ต้องใช้หลักประกันหรือบุคคลคำ้า
• ดอกเบี้ย 0.35% ต่อเดือน
• ปลอดชำาระหนี้ 6 เดือนแรก
อนุมัติ 62,099 ราย 2,648 ล้านบาท
อนุมัติ 62,099 ราย 2,648 ล้านบาท
ผู้ประกอบการ SMEs
1 สินเชื่อดอกเบี้ยตำ่า (Soft loan) 150,000 ลบ.
สำาหรับผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)
• วงเงินสูงสุด 20 ลบ./ราย
• ใช้หลักประกัน หรือ บสย.คำ้า
• ดอกเบี้ย 2% (2 ปีแรก)
1.1 ให้สินเชื่อผ่านธนาคารพาณิชย์และ SFIs 72,000 ลบ.
• มติ ครม. 10 มี.ค. 63 จัดสรรวงเงิน 55,000 ลบ. เพื่อให้สถาบันการเงินให้สินเชื่อแก่ SMEs ที่ได้รับผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)
• มติ ครม. 18 ส.ค. 63 ทบทวนมติ ครม. 26 พ.ค. 63 ขยายขอบเขตให้ครอบคลุมถึง SMEs ทั่วไป และปรับวงเงิน
จาก 10,000 ลบ. เหลือ 7,000 ลบ.
• มติ ครม. 18 ส.ค. 63 จัดสรรวงเงินจาก Soft loan non-bank 10,000 ลบ. เพื่อให้สินเชื่อเพื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย
SMEs ขนาดกลาง-ใหญ่
• มติ ครม. 3 พ.ย. 63 ขยายวงเงินกู้สูงสุดต่อรายเป็น 100 ลบ. สินเชื่อเพื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย
อนุมัติรวม 11,129 ราย 64,244 ล้านบาท
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563 107