Page 134 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 134
ผลการดำาเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 403-7
เปาหมาย
0
สถิติการเกิดอุบัติเหตุ มีการตรวจสอบจาก เข้าร่วมประกวดโครงการ กำาหนดตัวชี้วัดผลการ
ถึงขั้นหยุดงานติดต่อ หน่วยงานภายนอก สถานประกอบกิจการดีเด่น ดำาเนินงานและเป้าประสงค์
กัน 3 วัน เช่น กระทรวงแรงงานฯ ระดับประเทศ และกิจกรรม การปรับปรุงด้านสุข
รณรงค์ลดสถิติอุบัตืเหตุจาก อนามัย ความปลอดภัยและ
การทำางานให้เป็นศูนย์ สวัสดิภาพให้เหมาะสมตาม
สภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่
ธนาคารมีการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำางานเป็นประจำา เพื่อให้มั่นใจได้ว่าสภาพแวดล้อมการทำางานภายในธนาคาร
ไม่มีความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุภายในธนาคาร ตลอดจนหากพบสภาพแวดล้อมการทำางานที่มีความเสี่ยงจะมีการระบุให้
หน่วยงาน และ/หรือคณะทำางานฯ ดำาเนินการสนับสนุนต่อการจัดการแก้ไขสภาพแวดล้อมดังกล่าวตามรายละเอียด ดังนี้
การตรวจประเมิน สำานักงานใหญ่ สายงานกิจการสาขา
การตรวจประเมินโดยหน่วยงานตนเอง ไตรมาสละ 1 ครั้ง ตามความเหมาะสม
(ใช้แบบสอบทานมาตรฐาน) (อย่างต่อเนื่อง)
การตรวจประเมินโดยคณะกรรมการตรวจประเมินผลกิจกรรม 5 ส ไตรมาสละ 1 ครั้ง -
ประจำาสายงาน (ใช้แบบสอบทานมาตรฐาน)
การตรวจประเมินโดยคณะกรรมการตรวจประเมินผลกิจกรรม 5 ส ปีละ 2 ครั้ง ปีละ 2 ครั้ง
ประจำาหน่วยงานธนาคารออมสินสำานักงานใหญ่ / (ไตรมาสที่ 2 และ 4) (ไตรมาสที่ 2 และ 4)
ประจำาธนาคารออมสินภาค (ใช้แบบตรวจประเมินผลกิจกรรม 5 ส)
นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดหลักสูตรในการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ได้แก่ การฝึกอบรมดับเพลิงขั้นต้น การฝึกอบรมด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำางาน สำาหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำางานใหม่ หลักสูตรเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทำางานระดับหัวหน้างาน หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำางานระดับบริหาร และหลักสูตรสำาหรับ
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำางาน รวมถึงมีหลักสูตรการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ ด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ครบถ้วนทุกตำาแหน่งงาน รวมถึงการจัดให้มีศูนย์บริการทางการแพทย์ และการตรวจสุขภาพประจำาปี
ของพนักงาน ลูกจ้าง ทุกคนทั่วประเทศ เพื่อให้สถานที่ทำางานมีสุขอนามัย ความปลอดภัย และสวัสดิภาพอย่างเป็นระบบ
ซึ่งมีการทบทวนอย่างสมำ่าเสมอ
130 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม