Page 67 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 67
โครงการความริเริ่มอาคารต้นแบบอนุรักษ์พลังงาน (Green office) เป็นอาคารโครงสร้างคอนกรีต สูง 2 ชั้น และมีชั้น
ดาดฟ้าติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 12 kW. เลือกใช้วัสดุที่ลดการแผ่รังสีความร้อน ไม่ปล่อยมลพิษ
ต่อสิ่งแวดล้อม เน้นการใช้แสงธรรมชาติ ทิศทางลมและแสงแดด สร้างพลังงานทดแทนจากแผงกำาเนิดพลังงาน
แบบเซลล์สุริยะ ใช้อุปกรณ์ที่ประหยัดพลังงาน ติดตั้งระบบการใช้นำ้าหมุนเวียน รวมไปถึงเป็นอาคารที่อำานวยความสะดวก
ต่อผู้พิการ และออกแบบตามหลักการด้านความปลอดภัยในการทำางานของผู้ปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะพิเศษ ดังนี้
• โครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็ก 2 ชั้น
• ชั้นดาดฟ้าติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 12 kW.
• ใช้ผนังคอนกรีตมวลเบา มีคุณสมบัติในการเป็นฉนวนป้องกันความร้อน
• ก่อผนังสองชั้นโดยมีข่องอากาศภายใน ช่วยลดความร้อนเข้าสู่อาคาร
• กระจกนิรภัยกันความร้อน ช่วยลดรังสีอินฟราเรดได้ถึง 98% ลดรังสียูวีได้ถึง 99% แต่แสงสามารถส่องผ่านได้ถึง 70%
ทำาให้สามารถเปิดรับแสงจากธรรมชาติได้ ช่วยลดภาระการทำางานของเครื่องปรับอากาศ ลดการใช้แสงสว่างจาก
หลอดไฟ
ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ สาขามวกเหล็ก การวางผังอาคาร
1. ขนาดกำาลังการผลิต 12kW การวางผังอาคารนั้น ผู้ออกแบบได้ทำาการศึกษาทิศทาง
2. แผงโซล่าเซลล์ชนิด Poly crystalline ของแดดจากผังสุริยะ (Sun Chart) และทำาการวางผังอาคาร
3. ใช้พื้นที่ติดตั้งประมาณ 80 ตารางเมตร (7 ตร.ม./kw) ให้ด้านแคบของอาคาร อยู่ในตำาแหน่งทิศตะวันตกและ
4. เปิดใช้งานเดือน มกราคม 2560 ทิศตะวันออก เพื่อให้ได้รับความร้อนน้อยที่สุด และผนังใน
5. ติดตั้งชั้นดาดฟ้า ฝั่งทิศใต้ ซึ่งรับแดดมากกว่าทางทิศเหนือจะมีการเปิดช่องแสง
6. ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 1,700 kWh/เดือน จำานวนไม่มากและใช้วัสดุที่ช่วยป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร
7. ลดค่า Peak Demand การจัดผังภายในของอาคาร ผู้ออกแบบได้นำาพื้นที่ใช้สอย
8. อายุการใช้งานของโซล่าเซลล์ประมาณ 25 ปี ที่ไม่มีการใช้เครื่องปรับอากาศ เช่น ห้องนำ้า ห้องงานระบบ
9. เกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงพลังงานแนะนำาว่าเหมาะสม และบันได ไว้บริเวณด้านทิศตะวันตก เพื่อเป็นตัวบล็อก
แก่การลงทุนคืนระยะเวลาคืนทุน 7-10 ปี ความร้อนที่จะเข้าสู่ห้องปรับอากาศ อีกทั้งนำาห้องนำ้า และ
10. จุดคุ้มทุนควรวิเคราะห์ทั้งด้านการเงินและทางด้าน เพนทรี่ ที่มีความชื้น แยกส่วนกับส่วนปรับอากาศ เพื่อลด
เศรษฐศาสตร์ การทำางานของเครื่องปรับอากาศอีกด้วย
ภายนอกอาคารนั้น ลดพื้นที่ที่เป็น Hardscape และ
เพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อลดการคายความร้อนจากพื้นคอนกรีต
การเลือกใช้วัสดุประกอบอาคาร
ภายนอกอาคาร
• ผนังคอนกรีตมวลเบา
ผนังคอนกรีตมวลเบานั้น มีคุณสมบัติในการเป็นฉนวน การป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร
ป้องกันความร้อน เนื่องจากโครงสร้างภายในนั้นมีรูพรุน
ขนาดเล็กกระจายตัวอยู่ทั่ว ทำาให้สามารถลดความร้อน แผงบังแดด (Sun Grill) ถูกนำามาใช้เพื่อกรองปริมาณ
ที่แผ่เข้าสู่อาคารได้ แสงที่จะเข้าสู่อาคาร ทำาให้สามารถลดความร้อนที่จะเข้า
ผ่านทางช่องแสงของอาคารได้
• กระจกนิรภัยกันความร้อน
กระจกนิรภัยกันความร้อน ใช้เทคโนโลยีเซรามิกโคดติ้ง ที่
ช่วยลดรังสีอินฟราเรดได้ถึง 98% และลดรังสียูวีได้ถึง 99% อีก
ทั้งแสงยังสามารถส่องผ่านได้ถึง 70% ทำาให้ช่วยกันความร้อน
ที่จะเข้าสู่อาคารโดยที่ยังสามารถเปิดรับแสงจากธรรมชาติได้
ด้วยการใช้งานกระจกที่มีคุณสมบัติ ทำาให้ช่วยลดภาระของ
เครื่องปรับอากาศ และช่วยลดการใช้แสงสว่างจากหลอดไฟ
ได้อีกด้วย
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563 63