Page 230 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 230

5.3.7)  หินบด
                              หินบด (มีทั้งแท่นหินและลูกหินบดทรงกระบอก) ใช้ในการบดอาหาร, เครื่องเทศ หรือ

                                                                           98
                       สมุนไพรต่างๆ เป็นรูปแบบเครื่องใช้ของวัฒนธรรมอินเดีย  พบตามชุมชนโบราณต่างๆ ใน
                       เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ปรากฏร่องรอยของวัฒนธรรมอินเดียโดยเฉพาะในช่วงแรกเริ่ม

                       ประวัติศาสตร์ ในสมัยทวารวดีพบหินบดเป็นจ านวนมากตามชุมชนต่างๆ ทั้งที่ได้จากการส ารวจ
                       และขุดค้นทางโบราณคดี (ภาพที่ 210 - 211) หินที่น ามาท าหินบดได้แก่ หินทราย (sandstone)

                       หินทรายแป้ง (siltstone) และหินโคลน (mudstone) ซึ่งคงน ามาจากแหล่งผลิตประติมากรรมหิน
                                                      99
                       แถบอ าเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี  (ภาพที่ 212) อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการวิเคราะห์รูปแบบ
                       ของหินบดในสมัยทวารวดี (และเปรียบเทียบกับที่พบในวัฒนธรรมอื่นๆ เช่นเขมรโบราณ) จึง
                       เป็นประเด็นที่ควรมีการศึกษาต่อไป























                                ภาพที่ 210 แท่นหินบด จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์

























                                     ภาพที่ 211 หินบด พบที่ต าบลธรรมศาลา อ าเภอเมือง จังหวัดนครปฐม






                                                               224
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235