Page 21 - ธนาคารเวลากับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
P. 21

“ธนาคารเวลา” กับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย



          จุดแข็ง


                 1) สังคมไทยเป็นสังคมเกื้อกูล ช่วยเหลือและมีจิตอาสา ซึ่งเป็นมาแต่ช้านาน
          ในปี 2551 ได้มีการจัดท�าบัญชีองค์กรไม่แสวงหาก�าไรของไทยพบว่า มูลค่าการท�างาน
          ขององค์กรไม่แสวงหาก�าไรและอาสาสมัครในสังคมไทยมีมูลค่าเฉลี่ยถึงร้อยละ 1.6 ของ

          GDP (160,000 ล้านบาท) และข้อมูลของมูลนิธิการกุศลระหว่างประเทศ (Charities
          Aid Foundation-CAF) ได้จัดอันดับให้ไทยอยู่ในอันดับที่ 9 จาก 153 ประเทศทั่วโลก
          ที่มีกิจกรรมการกุศล โดยจัดเป็นอันดับ 1 เรื่องบริจาคเงิน อันดับที่ 59 ในการช่วยเหลือ
          คนแปลกหน้า อันดับที่ 86 ในการใช้เวลาเป็นอาสาสมัคร


                 2) ปัจจุบันมีโครงการที่ด�าเนินการจิตอาสา และช่วยเหลือสังคมจ�านวนมาก
          และครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศไทย


                 3) มีกลุ่มจิตอาสาภายใต้โครงการ “เราท�าความดีด้วยหัวใจ” กว่า 320,000 คน
          ด�าเนินกิจกรรมจิตอาสาในทุกจังหวัดทั่วประเทศ



          จุดอ่อน


                 1) ธนาคารเวลาเป็นแนวคิดใหม่ สังคมยังไม่รับรู้ จึงเกิดความไม่เข้าใจ และอาจ
          น�าไปสู่ข้อจ�ากัดในการสร้างการมีส่วนร่วม


                 2) การด�าเนินงานโครงการจิตอาสา เป็นไปเพื่อการช่วยเหลือสังคม แต่ยังขาด
          รูปแบบการออมเวลารองรับยามสูงวัย


                 3) คนไทยยังมีพฤติกรรมไร้ระเบียบ ไม่ตรงต่อเวลา การคิดแยกส่วนระหว่าง
          ส่วนตัวกับส่วนรวม ค่านิยมในระบบอุปถัมภ์ชอบรับความช่วยเหลือมากกว่าร่วมช่วยเหลือ
          การท�าดีแบบหวังผล เพื่อตัวเองมากกว่าเพื่อส่วนร่วม







                                                                           21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26