Page 25 - ธนาคารเวลากับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
P. 25
“ธนาคารเวลา” กับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
ข้อเสนอเชิงนโยบำย
ความท้าทายจากข้อมูลและสถานการณ์การเข้าสู่สังคมสูงวัยของประเทศไทย
และโอกาสในการพัฒนาธนาคารเวลารองรับสังคมสูงวัย จากข้อมูลเชิงประจักษ์ที่สังคม
หน่วยงานทุกภาคส่วนมีความตื่นตัวในการสร้างมาตรการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การก�าหนดให้สังคมสูงวัยเป็นวาระแห่งชาติ และให้การด�าเนินงาน
ธนาคารเวลา เป็น 1 ใน 10 ของประเด็นเร่งด่วนของการด�าเนินงาน รวมทั้งองค์ความรู้
ประสบการณ์ในประเทศไทยที่มีโครงการด�าเนินงานจิตอาสา ช่วยเหลือสังคมอย่าง
หลากหลาย และองค์ความรู้ ประสบการณ์จากต่างประเทศ ที่สะท้อน แนวคิด หลักการ
การด�าเนินงานธนาคารเวลา ที่สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในประเทศไทยได้
ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนการด�าเนินงาน “ธนาคารเวลา” รองรับสังคมสูงวัย
ของประเทศไทย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คณะนักวิจัยจึงขอเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย
ต่อการพัฒนาธนาคารเวลา รองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย ภายใต้กระบวนการ
ในการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายดังต่อไปนี้
สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย
ต่อการด�าเนินงานธนาคารเวลา รับฟังความคิดเห็นจาก
รองรับสังคมสูงวัยในประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิและภาคีเครือข่าย
• วิเคราะห์เชื่อมโยงประสบการณ์ • วิเคราะห์ เชื่อมโยง องค์ความรู้
การด�าเนินงานโครงการจิตอาสา จากการเยี่ยมชม เรียนรู้
ในประเทศไทย ประสบการณ์การด�าเนินงาน
• วิเคราะห์เชื่อมโยงประสบการณ์ โครงการธนาคารความดีในพื้นที่
การด�าเนินงานธนาคารเวลา • วิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูล
ในต่างประเทศ ความคิดเห็นของผู้แทนโครงการ
• ศึกษาเอกสารวิชาการ ข่าวสาร จิตอาสา ที่เข้าร่วมประชุม
เว็บไซต์ต่าง ๆ เชิงปฏิบัติการ
25