Page 28 - ธนาคารเวลากับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
P. 28

ระดับหน่วยงานและพื้นที่



                 ส�านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) ร่วมกับศูนย์
          พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ 12 แห่ง เป็นกลไกขับเคลื่อนระดับจังหวัด ท�าหน้าที่
          เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการทางวิชาการ ประสานงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
          ร่วมวางแผนการด�าเนินงานธนาคารเวลาในพื้นที่ และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

          (อปท.) ร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ จัดตั้งกลไกระดับพื้นที่ พัฒนากระบวนการศึกษา
          ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งธนาคารเวลา และด�าเนินการพัฒนาแผนการด�าเนินงานใน
          พื้นที่ที่มีความพร้อม ตามหลักการ “เพื่อนบ้านช่วยเพื่อนบ้าน” ลักษณะเครือข่ายสาขา
          มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเชื่อมโยงข้อมูล เพื่อน�าไปสู่การสร้างเครือข่ายทางสังคม

          ที่เข้มแข็ง


          ข้อเสนอที่ 4 พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนเพื่อด�ำเนินงำน “ธนำคำรเวลำ” รองรับ

          สังคมสูงวัย


                 ต้องมีการสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อย่างน้อยตามหลัก 4Ms คือ
          Man บุคลากร Money งบประมาณในการสนับสนุนขั้นพื้นฐาน Materials วัสดุ อุปกรณ์
          โปรแกรมต่าง ๆ และ Management กลไกการบริหารจัดการ โดยมีกระทรวง พม.

          เป็นหน่วยงานหลักในการประสานและบริหารจัดการให้เกิดการสนับสนุนการด�าเนินงาน
          ด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่เป็นมาตรฐานส่วนกลาง และธนาคาร
          เวลาในพื้นที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
















          28
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33