Page 26 - ธนาคารเวลากับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
P. 26

ข้อเสนอที่ 1 กำรเตรียมควำมพร้อมประชำกรทุกกลุ่มวัยเพื่อรับสถำนกำรณ์
          สังคมสูงวัย



                 ต้องมีการสร้างความตระหนัก การรับรู้ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
          อย่างกว้างขวาง เพื่อให้สังคมเข้าใจและพร้อมเป็นแนวร่วมในการขับเคลื่อนการจัดตั้ง
          “ธนาคารเวลา” โดยทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการน�าเสนอแนวคิดเรื่อง “ธนาคาร

          เวลา” ต่อประชาชนผ่านทุกช่องทางการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง




          ข้อเสนอที่ 2 ระดมพลังจิตอำสำในสังคมไทยด�ำเนินงำนธนำคำรเวลำรองรับ

          สังคมสูงวัย


                 ถึงแม้ธนาคารเวลาจะเป็นแนวคิดใหม่ และยังไม่มีหน่วยงาน/โครงการใดด�าเนินงาน
          ตามแนวคิดหลักการของธนาคารเวลา แต่ทว่า ด้วยบริบทความเป็นคนไทยที่มีความ

          เอื้อเฟื้อช่วยเหลือและมีการด�าเนินงานโครงการจิตอาสาอย่างมาก ดังนั้นจึงเป็นโอกาส
          อันดีที่จะระดมพลังจิตอาสาให้เข้าเป็นสมาชิกธนาคารเวลารองรับสังคมสูงวัยได้โดยมี
          มาตรการดังนี้



                 1) กระทรวง พม. โดยกองกิจการอาสาสมัครและภาคประชาสังคม เป็นหน่วย
          งานหลัก ในการเชื่อมประสานหน่วยงานต่าง ๆ ศึกษา เชื่อมโยงซอฟต์แวร์และจัดท�า
          ฐานข้อมูลจิตอาสาในประเทศไทยทุกภูมิภาค เพื่อสะท้อนทักษะ ความเชี่ยวชาญ
          ความต้องการเป็นแนวร่วมในการเป็นสมาชิกธนาคารเวลาในแต่ละพื้นที่



                 2) ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การช่วยเหลือสังคม
          และการเสริมพลังจิตอาสา เพื่อส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายสังคมที่เข้มแข็ง ตามแนวคิด
          ธนาคารเวลา





          26
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31