Page 23 - ธนาคารเวลากับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
P. 23
“ธนาคารเวลา” กับการรองรับสังคมสูงวัยของประเทศไทย
3) รัฐบาลก�าหนดให้ “สังคมสูงวัยเป็นระเบียบวาระแห่งชาติ”
4) กระทรวง พม. ได้เริ่มกระบวนการส่งเสริมการดูแลผู้สูงอายุผ่านการด�าเนินงาน
ธนาคารเวลา โดยน�าร่องใน 44 พื้นที่ เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง และผู้ให้จะ
ได้รับการตอบแทนตามเวลาที่สะสมไว้
5) มีประสบการการณ์ด�าเนินงานจากต่างประเทศ ที่สามารถน�ามาประยุกต์ใช้
ทั้งแนวคิด หลักการ รูปแบบการบริหารจัดการ และระบบการจัดการข้อมูล ซอฟต์แวร์
ต่าง ๆ
ภำวะคุกคำม
1) ความไม่ตระหนักของสังคมไทยในการเผชิญผลกระทบจากการเป็นสังคมสูงวัย
หากคนในสังคมไทยยังไม่ตื่นตัว การด�าเนินการเรื่อง “ธนาคารเวลา” ก็จะเป็นเรื่องยาก
2) หากการรับรู้ การยอมรับและความตระหนักในการออมเวลาของไทยยังมี
ข้อจ�ากัด ก็จะส่งผลในการขับเคลื่อนเพราะ “ธนาคารเวลา” ต้องมาจาก “การมีส่วนร่วม”
ของคนในสังคมไทย
3) ความไม่ชัดเจนเชิงนโยบายจะส่งผลต่อการด�าเนินงานธนาคารเวลา ที่ต้องการ
การสนับสนุนทั้งในด้านมาตรการ งบประมาณ หลักการ แนวคิด และหน่วยงานรับผิดชอบ
ในระดับส่วนกลางหรือระดับชาติ
4) การขาดระบบในการเชื่อมโยงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มี
ประสิทธิภาพ
5) การขาดระบบส่วนกลางในการติดตาม อาจน�ามาซึ่งการเก็บสถิติที่เป็น
ข้อมูลเท็จ และส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้รับบริการได้
23