Page 47 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 47

2. องค์ป้ระกอบขององค์กรสุขภาวะที�ดี





                    จากการวิจัยเชีิงคุณภาพ ผ่านข้อม้ลจากการสัมภาษณ์เชีิงลึก (In-Depth Interview) และการสนทนา
            กลุ่ม (Focus Group) รวมถึึงการวิจัยเชีิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ผ่านข้อม้ลจากแบบสอบถึาม
            ตัวชีี�วัดสุขภาวะองค์กร ชีี�ให้เห็นในทิศทางเดียวกันว่า บริษัท เงินมาธุรกิจ จำากัด เป็นองค์กรที�มีองค์ประกอบ

            ขององค์กรสุขภาวะครบถึ้วนทั�ง 4 มิติ ได้แก่ มิติสุขภาวะทางกาย มิติสุขภาวะทางสังคมสิ�งแวดล้อม
            มิติสุขภาวะทางใจ และมิติสุขภาวะทางปัญญา ผลการวิเคราะห์ข้อม้ลแยกตามแต่ละมิติ มีรายละเอียด ดังนี�


            มิติทางกาย (Physical Well-Being)


                    บริษัท เงินมาธุรกิจ จำากัด ให้ความสำาคัญมิติสุขภาวะทางกาย ใน 2 ด้านคือ การมีสุขภาพกายที�ดี
            และความปลอดภัยในที�ทำางาน

            • การมีสุขภาพกายที�ดี (Health)


                    บริษัท เงินมาธุรกิจ จำากัด มีการจัดกิจกรรม และจัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื�อส่งเสริมการมีสุขภาพที�ดี
            ของพนักงาน โดยกิจกรรมที�มีการดำาเนินงานมากที�สุด คือการจัดให้มีการออกกำาลังกาย ทางบริษัทฯ
            ได้มีการจัดทำาห้องฟิตเนสและจัดหาอุปกรณ์ด้านสุขภาพ เชี่น ล้่วิ�ง ปั� นจักรยาน และโยคะ ซึ่ึ�งจะมีการกำาหนด
            จำานวนครั�งในการออกกำาลังกายของพนักงานไว้ จากเดิมที�เคยมีเพียงการเคลื�อนไหวร่างกายเพื�อป้องกัน
            Office Syndrome อีกทั�ง บริษัทฯ ยังมีเก้าอี�นวดเพื�อผ่อนคลาย และจัดหาพื�นที�สำาหรับการออกกำาลังกาย
            กลางแจ้ง เชี่น การตีแบดมินตันและการเตะตะกร้อ



                                “…เราม่การจึัดีกิจึกรรมออกกำาลังกายให้กับพนัักงานั

                             โดียที่่�เราเองม่ห้องฟิิตุเนัส จึะเป็็นัตุารางเวรจึากฝ่่ายบุค์ค์ล
                             พนัักงานั 1 ที่่านัจึะตุ้องม่การออกกำาลังกาย 2 ค์รั�งตุ่อเดี่อนั

                                ถึ้าไม่อยากวิ�ง ไม่อยากป็่ � นัจึักรยานั จึะม่กิจึกรรมโยค์ะ
                                      ทีุ่กวันัอังค์าร โดียค์รูโยค์ะจึากภายนัอก…”





























                                                                           วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล   47
       ลิขสิทธิ ์  © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย  College of Management Mahidol University
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52