Page 21 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 21

ท�าไมควรเจาะส�ารวจดิน



              ส่วนข้อบังคับของ กฎกระทรวงก�าหนดการออกแบบโครงสร้าง (๑)  ส่วนของอาคารที่คิดเฉพาะน�้าหนักบรรทุกคงที่และน�้าหนัก
            อาคารและลักษณะและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในงานโครงสร้าง    บรรทุกจร
            อาคาร พ.ศ. ๒๕๖๖ จะก�าหนดในเรื่อง                      นป. = ๑.๔ นค. + ๑.๗ นจ.
              ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ ฉบับที่ ๔๘ และ ฉบับที่ ๖๐   (๒)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงลม
              โดยก�าหนดวิธีการออกแบบและค�านวณโครงสร้างอาคาร แก้ไข    นป. = ๐.๗๕ (๑.๔ นค. + ๑.๗ นจ.) + ๑.๖ รล.

            สูตรการค�านวณ                                         นป. = ๐.๙ นค. + ๑.๖ รล.
              1. การออกแบบและค�านวณส่วนต่าง ๆ ของอาคารตามวิธี (๓)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
            หน่วยแรงที่ยอมให้ ให้ใช้ค่าหน่วยแรงสูงสุดที่ค�านวณจากชุดตัวคูณ    นป. = ๐.๗๕ (๑.๔ นค. + ๑.๗ นจ.) + ๑.๐ รผ.
            น�้าหนักบรรทุก                                        นป. = ๐.๙ นค. + ๑.๐ รผ.
            (๑)  ส่วนของอาคารที่คิดเฉพาะน�้าหนักบรรทุกคงที่และน�้าหนัก  (๔)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงดันดิน แรงดันน�้า และแรงดันจาก
               บรรทุกจร                                           ของเหลว

               นง. = นค. + นจ.                                    นป. = ๑.๔ นค. + ๑.๗ นจ. + ๑.๗ รด.
            (๒)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงลม                          นป. = ๐.๙ นค. + ๑.๗ รด.
               นง. = นค. + ๐.๗๕ (นจ. + รล.)                       นป. = ๑.๔ นค. + ๑.๗ นจ. + ๑.๔ รข.
               นง. = ๐.๖ นค. + รล.                                นป. = ๐.๙ นค. + ๑.๔ รข.
            (๓)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว  (๕)  ส่วนของอาคารที่คิดผลของอุณหภูมิ การหดตัว การคืบ และ

               นง. = นค. + ๐.๗ รผ.                                การทรุดตัว
               นง. = นค. + ๐.๕๒๕ รผ. + ๐.๗๕ นจ.                   นป. = ๐.๗๕ (๑.๔ นค. + ๑.๔ รท. + ๑.๗ นจ.)
               นง. = ๐.๖ นค. + ๐.๗ รผ.                            นป. = ๑.๔ นค. + ๑.๔ รท.
            (๔)  ส่วนของอาคารที่คิดแรงดันดิน แรงดันน�้า แรงดันจากของเหลว     ก�าหนดตัวคูณลดก�าลังส�าหรับวิธีตัวคูณความต้านทานและน�้า
               และผลของอุณหภูมิ                                หนักบรรทุก
               การหดตัว การคืบ และการทรุดตัว                     แบ่งประเภทการใช้อาคารและส่วนต่าง ๆ ของอาคารเป็น 7
               นง. = นค. + นจ. + รด. + รข. + รท.               กลุ่มอาคาร แก้ไขน�้าหนักบรรทุกจรของอาคาร เช่น น�้าหนักของ

                                                               บ้านพักอาศัยจาก 150 กก./ตร.ม. เพิ่มเป็น 200 กก./ตร.ม. และ
              2. การออกแบบและค�านวณส่วนต่าง ๆ ของอาคารตามวิธี หลังคา จาก 30 กก./ตร.ม. เพิ่มเป็น 50 กก./ตร.ม.
            ตัวคูณความต้านทานและน�้าหนักบรรทุก ให้ใช้ค่าของแรงสูงสุดที่   การคิดแรงลมใหม่ จากเดิม ใช้ความสูงเป็นเกณฑ์ ในการ
            ค�านวณจากชุดตัวคูณน�้าหนักบรรทุก                   ค�านวณแรงลม เปลี่ยนเป็นมีข้อก�าหนดเรื่อง
                                                                 1.  รูปทรงสี่เหลี่ยมหรือคล้ายสี่เหลี่ยม

                                                                 2.  ความสูงไม่เกิน 40 เมตร
                                                                 3.  ความสูงไม่เกินสามเท่าของความกว้างที่น้อยที่สุดของอาคาร
                                                                 4. หน่วยแรงลมตามสภาพภูมิประเทศ
                                                                      แบบเมืองหรือชานเมือง
                                                                      แบบโล่งหรือชายฝั่งทะเล
                                                                 5.  อาคารสาธารณะที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป ให้

                                                                    เพิ่มค่าหน่วยแรงลมอีก 15 %
                                                                 ซึ่งคงจะมีข้อบังคับต่าง ๆ ตามออกมาเพิ่มเติมในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
                                                               อีกในล�าดับต่อไป วิศวกรโครงสร้าง และท่านเจ้าของอาคารต้อง
                                                               ติดตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยจะมีผล ใน 180 วันหลังวัน
                                                               ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา  หรือประมาณเดือนมีนาคม 2567




                                                                                                    วิศวกรรมสาร  21 21
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26