Page 18 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 18

หลักการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูด











          โครงสร้างคอนกรีตเสริมแท่ง GFRP ความต้านทานการผุกร่อนจาก

          คลอไรด์ของ GFRP เป็นข้อดีที่ส�าคัญ ส�าหรับโครงสร้างที่อยู่ในสภาพ
          แวดล้อมที่มีการกัดกร่อนสูง เช่น เขื่อนกั้นคลื่น และโครงสร้างอื่น ๆ
          ที่อยู่ในทะเล, สะพานเดินเรือ, และโครงสร้างขนาดใหญ่ที่อยู่ใน
          สภาพแวดล้อมที่มีเกลือที่ใช้ละลายน�้าแข็ง นอกจากนี้ในโครงสร้าง
          ที่มีเครื่องการตรวจเอกซเรย์ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
          หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไวต่อสนามแม่เหล็ก อย่างไรก็ตามแท่ง GFRP

          ไม่ควรจะใช้รับแรงอัด ข้อมูลที่มีอยู่ชี้ให้เห็นว่ามอดุลัส การรับแรง
          อัดของแท่ง GFRP ต�่ากว่ามอดุลัสรับแรงดึง และต�่ากว่าเหล็กมาก  เสริมเหล็กเพื่อรับแรงเฉือน กรณีของคอนกรีตเสริมแท่ง GFRP ก็
            การรับแรงอัดสูงสุดของ GFRP ที่ค�านวณ ณ จุดที่คอนกรีตแตก  เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามมอดุลัสยืดหยุ่นของ GFRP ที่น้อยกว่า
          (โดยทั่วไปจะมีค่า = 0.003) จะมีค่าน้อย ดังนั้นจึงห้ามเสริมแรงด้วย เหล็กถึง 5 เท่า ผลที่เกิดขึ้นคือความต้านทานการโก่งตัวขององค์
          แท่ง GFRP ในเสา หรือชิ้นส่วนรับแรงอัดอื่น ๆ จุดอ่อนอีกประการ อาคารจะน้อยลง ความกว้างของรอยร้าวของชิ้นส่วนรับแรงดัดจะ

          หนึ่งจองของแท่ง GFRP คือแท่ง GFRP สูญเสียก�าลังมากเมื่อใช้งาน กว้างขึ้น แรงเฉือนที่เกิดจากทั้งการเชื่อมประสานกันของมวลรวม
          ในที่มีอุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิใช้งาน ใกล้เคียงกับอุณหภูมิที่เรซิน และ dowel action จะน้อยลง ความสามารถในการรับแรงเฉือน
          เปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Tg) GFRP จะสูญเสียก�าลังอย่างมาก วิธี ของคอนกรีต  ของชิ้นส่วนรับแรงดัดจะมีค่าประมาณ  1/3
          การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมแท่ง GFRP สอดคล้องกับ ของคอนกรีตเสริมเหล็กเท่านั้น ดังนั้นการออกแบบโดยวิธี “พื้นที่
          การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กตาม วสท 1008 หรือ  เทียบเท่า” เฉพาะก�าลังดัดของคาน โดยไม่ค�านึงถึงก�าลังเฉือน
          ACI 318 โดยคู่มือฯ ของ วสท. จะแนะน�าให้การออกแบบเป็นแบบ  ของหน้าตัด จึงอาจท�าให้คานวิบัติใน failure mode ที่แตกต่าง
          compression controlled หรือ over reinforcement นั้นเอง  ออกไป รายละเอียดต่าง ๆ ของการค�านวณ ออกแบบ และการ

            นอกจากนี้ การออกแบบให้โครงสร้างทนทานต่อการล้า ต่อการคืบ  ก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตเสริม GFRP โดยละเอียดหาอ่านได้จาก
          ต่อการแตกร้าว ก็เป็นสิ่งที่จ�าเป็น                 คู่มือการออกแบบฯ ซึ่งจะเผยแพร่ประมาณเดือนมกราคม 2567 นี้
            ACI 318 และ วสท 1008 ก�าหนดให้ความต้านทานแรงเฉือน  ติดตามความคืบหน้าได้ทาง www.eit.or.th ครับ
          จะเป็นผลรวมของความต้านทานแรงเฉือนจากคอนกรีต และการ


                        ประวัติผู้เขียนบทความ







                                            รศ.ดร. สมิตร ส่งพิริยะกิจ

                                            ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา
                                            วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์













        18    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23