Page 15 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 15

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ



            ส่งน�้าให้พื้นที่เพาะปลูกในฤดูกาลถัดไป
               4)  ส�าหรับในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ประกอบด้วย
                   4.1) การที่จะพัฒนาโครงการชลประทานขึ้นมาใหม่จะต้องศึกษาเพื่อพัฒนาอย่าง
            เป็นระบบลุ่มน�้าด้วยแบบจ�าลอง และมีการเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาสอบ
            เทียบแบบจ�าลองด้วย และควรด�าเนินการศึกษาเช่นเดียวกันในทุกลุ่มน�้าของประเทศ

            ดังกรณีศึกษาในลุ่มน�้าชี
                   4.2) เสนอแนะให้เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา โดยการ
            จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง ดังเช่นที่ได้ด�าเนินการ  9. บทส่งท้าย

            ในช่วงปี พ.ศ. 2522-2525
                   4.3) การที่จะผันน�้าจากนอกลุ่มน�้ามาเพิ่มให้กับลุ่มน�้าเจ้าพระยา จะต้องศึกษาเพื่อ   อ่างเก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์ ก่อสร้าง
            พัฒนาอย่างเป็นระบบลุ่มน�้าด้วยแบบจ�าลองและมีการเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนาม  ณ จุดที่แม่น�้าพองไหลผ่านช่องเขาแคบในเขต

            มาสอบเทียบแบบจ�าลองด้วย                                             จ.ขอนแก่น โดยมีความจุที่ระดับเก็บกัก
                                                                                182.00 ม.รทก. เท่ากับ 2,263 ล้านลบ.ม.

                                                                                เป็นอ่างเก็บน�้าที่ใหญ่ที่สุดในภาค
            7. สรุป                                                             ตะวันออกเฉียงเหนือ ทางน�้าล้น (Spillway)
                                                                                ของอ่างเก็บน�้าออกแบบให้อุทกภัยในรอบ
              ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ สามารถสรุปได้ดังนี้                   พันปี (พันปีมีโอกาสเกิด 1 ครั้ง) ซึ่งมีค่า
               1)  ปฏิรูปหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการน�้าของประเทศระดับกรมให้เป็น เท่ากับ 2,500 ลบ.ม.ต่อวินาที ไหลผ่านได้

            หน่วยงานที่ปฏิบัติงานเฉพาะทาง ดังประเทศที่พัฒนาแล้วได้ถือปฏิบัติกันมาเป็นเวลา  แต่ในปี พ.ศ. 2521 ได้เกิดอุทกภัยบนลุ่มน�้าชี
            ไม่น้อยกว่า 50 ปี                                                   (ซึ่งแม่น�้าพองเป็นสาขาหนึ่งของแม่น�้าชี
               2)  การวางแผนและการจัดการแหล่งน�้าอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย       และไหลลงแม่น�้าชีท้ายที่ตั้ง  อ.เมือง
                   2.1) โครงการพัฒนาแหล่งน�้าที่ได้พัฒนาแล้ว จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ ขอนแก่น) ท�าให้ปริมาณน�้าอุทกภัยไหลผ่าน
            น�้าโดยการจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง และมีการเก็บ ทางน�้าล้นของอ่างเก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์

            ข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาสอบเทียบแบบจ�าลองด้วย                     สูงถึง 3,200 ลบ.ม.ต่อวินาที
                   2.2) ส�าหรับโครงการพัฒนาแหล่งน�้าที่จะพัฒนาขึ้นมาใหม่ จะต้องศึกษาอย่างเป็น   ในปลายเดือนกันยายน 2521 ได้เกิด
            ระบบลุ่มน�้าด้วยแบบจ�าลอง โดยมีการเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาสอบเทียบ อุทกภัยในลุ่มน�้าชีท�าให้เกิดน�้าท่วมทาง
            แบบจ�าลองด้วย ซึ่งรวมถึงการผันน�้าจากนอกลุ่มน�้าเข้ามาใช้ในลุ่มน�้าด้วย  รถยนต์ที่วิ่งเข้าเมืองขอนแก่นทั้ง 4 ทิศทาง
                   2.3) ส�าหรับอ่างเก็บน�้าเพื่อการชลประทาน จะต้องมีการศึกษาเพื่อสร้างเกณฑ์ รถยนต์วิ่งผ่านไม่ได้ท�าให้ต้องส่งเสบียงให้
            การใช้อ่างเก็บน�้าเพื่อลดปัญหาน�้าท่วมด้านท้ายน�้า และมีการศึกษาเพื่อสร้างเกณฑ์การใช้ จังหวัดขอนแก่นโดยทางเครื่องบิน การเกิด

            น�้าในอ่างเก็บน�้าเพื่อการเพาะปลูกฤดูแล้ง (DSAR-Curve) ส�าหรับ DSAR-Curve จะต้อง น�้าท่วมดังกล่าวท�าให้มีผู้อพยพเข้าไปพัก
            มีการเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาสอบเทียบแบบจ�าลองด้วย            อาศัยในมหาวิทยาลัยขอนแก่นซึ่งเป็นที่สูง
                                                                                ประมาณ 3,000 คนและวัว-ควายอีก 2,000 ตัว
                                                                                (เพราะมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีที่มากกว่า
            8. ข้อเสนอแนะ                                                       5,000  ไร่)  อธิการบดีมหาวิทยาลัย
                                                                                ขอนแก่นได้มอบหมายให้ผู้เขียนซึ่งเป็น
              เสนอแนะให้ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบโดยเร่งด่วน  แล้วรีบด�าเนินการเพิ่ม รองอธิการบดีเป็นผู้รับผิดชอบในการอ�านวย

            ประสิทธิภาพการจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาโดยเร่งด่วนต่อไปด้วย เพราะถ้าปล่อยทิ้ง ความสะดวกให้ผู้ที่อพยพเข้ามาพักอาศัยใน
            ไว้เช่นปัจจุบัน (กรกฎาคม 2563) และในอนาคตอันใกล้ถ้าเกิดความแห้งแล้งเช่นปี พ.ศ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น อนึ่งมหาวิทยาลัย
            2536 ขึ้นมาอีกในลุ่มน�้าเจ้าพระยาโอกาสที่กรุงเทพฯ จะขาดน�้าดิบในการผลิตน�้าประปา ได้ตั้งโรงครัวเพื่อท�าอาหารแจกจ่ายแก่
            มีสูงมาก ๆ ส�าหรับลุ่มน�้าอื่นเสนอแนะให้ด�าเนินการเช่นเดียวกับลุ่มน�้าเจ้าพระยา  ผู้อพยพและผู้ที่เข้ามาดูแลวัว-ควายด้วย


                                                                                                    วิศวกรรมสาร  15
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20