Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 11

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ



            (ซึ่งเคยปฏิบัติงานกับบริษัทเอเคอร์ที่กรมชลประทานเป็นเวลา 5 ปี)
            รวมเวลาประมาณ 8 เดือน โครงการชลประทานน�้าอูนประกอบด้วย
            อ่างเก็บน�้าอยู่ทางเหนือน�้าและส่งน�้าให้พื้นที่เพาะปลูกจากที่สูงลงสู่
            ที่ต�่า (Gravity) ทางท้ายน�้ามากกว่า 200,000 ไร่ งานที่ผู้เขียน
            ไปปฏิบัติคือ การจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบ

            ด้วยแบบจ�าลอง และได้เก็บข้อมูลจากแปลงทดลอง 2 แปลง
            พื้นที่เพาะปลูกประมาณ 300 ไร่ และ 50,000 ไร่ ตามล�าดับ
            ในเขตโครงการเพื่อน�ามาสอบเทียบแบบจ�าลอง ปรากฏว่างาน
            ส�าเร็จไปได้ด้วยดี  เพราะทางโครงการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง
            และเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงานทางโครงการก็สามารถด�าเนินงาน
            ต่อไปได้ด้วยตนเอง

                   2) การเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในเขตโครงการชลประทาน
            ล�าปาว จ.กาฬสินธุ์ จ�านวน 3 แปลงทดลอง เพื่อน�ามาใช้สอบเทียบ
            แบบจ�าลองเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการเงินจาก
            อียู โดยมีวิศวกรชาวเนเธอแลนด์เป็นหัวหน้าโครงการ และผู้เขียน
            ได้ศึกษาเพื่อค�านวณหากราฟส�าหรับใช้ในการก�าหนดพื้นที่เพาะ

            ปลูกฤดูแล้ง (Dry season area reduction curve-DSAR Curve)   ผู้เขียนหน้า 192
            ของอ่างเก็บน�้าห้วยผึ้ง-ห้วยฝาย เป็นอ่างเก็บน�้าขนาดกลาง และ           4) ผู้เขียนเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2540 และในปี
            มีพื้นที่เพาะปลูกอยู่ทางท้ายน�้าและพื้นที่เพาะปลูกผืนนี้สามารถ   พ.ศ. 2544 กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงานได้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษา
            รับน�้าจากที่สูงลงสู่ที่ต�่า (Gravity) ได้ทั้งสองอ่าง และผู้เขียนได้น�า  ในโครงการ “การเพิ่มประสิทธิภาพแหล่งน�้าและการใช้น�้าอย่างมี
            ผลการศึกษาไปเขียนบทความเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อส่งไปลงพิมพ์  ประสิทธิภาพด้วยระบบท่อส่งน�้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่
            ในการสัมนาที่ต่างประเทศอีกด้วย                     รับประโยชน์ 1,500,000 ไร่” ซึ่งประกอบด้วย 5 บริษัทใหญ่ และ
                     3) ในปี พ.ศ. 2539 ผู้เขียนได้เดินทางไปเพิ่มประสิทธิภาพ  6 บริษัทเล็กโดยมีผู้เขียนเป็นผู้จัดการโครงการและทางกรมฯ ได้

            การจัดการน�้าของอ่างเก็บน�้าหนองหาน-กุมภวาปี อ.กุมภวาปี   ว่าจ้างภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน�้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
            จ.อุดรธานี (โดยเดินทางไปปฏิบัติงานในวันหยุดเสาร์และอาทิตย์)   มาก�ากับและตรวจสอบผลการศึกษา อนึ่งทางภาควิชาวิศวกรรม
            เป็นการส่งน�้าจากอ่างเก็บน�้าให้พื้นที่เพาะปลูกโดยการสูบ พื้นที่  แหล่งน�้าจุฬาฯ ได้ว่าจ้างอดีตรองอธิบดีกรมพัฒนาและส่งเสริม
            เพาะปลูกสถานีสูบน�้าละ 2,000-3,000 ไร่ รวม 11 สถานี ส่วนระบบ   พลังงาน ซึ่งเกษียณอายุราชการแล้วมาร่วมงานด้วย ซึ่งผู้เขียน
            ส่งน�้ามีเฉพาะคลองส่งน�้าสายใหญ่และคลองซอยและยังไม่มี   ต้องไปปฏิบัติงานที่กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงานเป็นเวลา

            คูส่งน�้า  จึงไม่สามารถเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในสนาม   23 เดือน ซึ่งท่านอดีตรองอธิบดีกรมพัฒนาฯ ก็ได้นั่งปฏิบัติงานอยู่
            มาสอบเทียบแบบจ�าลองได้ ผู้เขียนจึงใช้ข้อมูลจากแปลงทดลอง  ใกล้กับผู้เขียนอีกด้วย อนึ่งบริษัทฯ ที่ผู้เขียนสังกัดได้รับผิดชอบ
            ของโครงการชลประทานน�้าอูน  จ.สกลนคร  และโครงการ    ลุ่มน�้าชี ผู้เขียนจึงได้ศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าชีอย่างเป็นระบบ
            ชลประทานล�าปาว จ.กาฬสินธุ์ มาสอบเทียบแบบจ�าลองเป็นงาน  ด้วยแบบจ�าลอง โดยแบ่งลุ่มน�้าชีออกเป็น 80 ลุ่มน�้าย่อยตามที่
            ของกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน (ปัจจุบัน ก.ค. 2563 กรมฯ นี้   คณะอนุกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติได้แบ่งไว้ และได้ศึกษาสมดุล
            ได้ถูกยุบไปแล้ว) อนึ่งที่โครงการนี้ผู้เขียนสามารถศึกษาถึงวิธีการ  น�้าแต่ละลุ่มน�้าย่อยด้วยแบบจ�าลองจากต้นน�้าจนถึงปลายแม่น�้า

            ค�านวณหาค่าชลภาระส�าหรับน�ามาค�านวณหาค่าความจุของคูส่งน�้า   อนึ่งผู้เขียนได้ใช้ผู้ที่ส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทจากภาควิชา
            ที่เหมาะส�าหรับการเพาะปลูกข้าวฤดูฝนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   วิศวกรรมทรัพยากรน�้า มก. ซึ่งได้ใช้แบบจ�าลองศึกษาการจัดการ
            ตอนบนได้ ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ในหนังสือชลศาสตร์ประยุกต์ของ  น�้าจากอ่างเก็บน�้าเพื่อศึกษาเป็นวิทยานิพนธ์ขึ้นปริญญาโทกับ








                                                                                                    วิศวกรรมสาร  11
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16