Page 14 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 14

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ


          5. การปฏิรูปหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ
            การจัดการน�้า



            หน่วยงานขนาดใหญ่ในประเทศที่พัฒนาแล้วจะแบ่งการปฏิบัติงาน
          เป็นเฉพาะทาง โดยรับผู้ที่ส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทขึ้นไป
          เข้าปฏิบัติงาน ดังตัวอย่างเช่นในปี พ.ศ. 2517-2518 รวมเวลา
          1 ปี ผู้เขียนได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานที่ส�านักงานใหญ่ของบริษัท

          เอเคอร์ (Acres Consulting Services Ltd) ในประเทศคานาดา
          ซึ่งส�านักงานใหญ่ตั้งอยู่ห่างจากน�้าตกไนแองการา (Niagra Falls)  ซึ่งบริษัทเอเคอร์ได้เริ่มพัฒนาไว้มาพัฒนาต่อ โดยมีการเก็บข้อมูล
          ประมาณ 5 กม. เป็นบริษัทที่ปฏิบัติงานเฉพาะทาง มีผลงานที่ได้ จากแปลงทดลองในสนามมาสอบเทียบแบบจ�าลองด้วย พร้อมทั้ง
          ปฏิบัติอยู่ทั่วโลก รวมทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาด้วย บริษัทจะรับ  น�าแบบจ�าลองดังกล่าวไปจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์เมื่อมีโอกาส
          ผู้ที่ส�าเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทขึ้นไปเข้าปฏิบัติงาน  ผู้เขียนปฏิบัติ มีรายละเอียดอยู่ในบทที่ 2 ในหนังสือชลศาสตร์ประยุกต์ของผู้เขียน
          งานอยู่ในกลุ่มงานชลศาสตร์ (Hydraulic Department) ก็ปฏิบัติ  3)  ส�าหรับกรณีที่มีอ่างเก็บน�้าอยู่ทางด้านเหนือน�้าและมีพื้นที่
          งานเฉพาะวิศวกรรมทรัพยากรน�้า  ชลศาสตร์และอุทกวิทยาเท่านั้น   ชลประทานซึ่งรับน�้าจากอ่างเก็บน�้าจากที่สูงลงสู่ที่ต�่า (โดย Gravity)

          นอกจากนี้ยังมีอาจารย์มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ  อยู่ทางด้านท้ายน�้า กรณีนี้เสนอแนะให้ด�าเนินการ ซึ่งประกอบด้วย
          คานาดาและอเมริกาเป็นที่ปรึกษาพิเศษเป็นโครงการ ๆ ไปอีกด้วย        3.1) ศึกษาหาเกณฑ์ที่ใช้อ่างเก็บน�้าควบคุมปัญหาน�้าท่วม
            ฉะนั้นผู้เขียนจึงใคร่ขอเสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ  ด้านท้ายน�้า โดยเมื่ออุทกภัยรอบ 100 ปี (100 ปีมีโอกาสเกิด
          การจัดการน�้าของประเทศในระดับกรมรีบด�าเนินการปฏิรูปหน่วยงาน  1 ครั้ง) ไหลผ่านอ่างเก็บน�้า ปริมาณน�้าที่ระบายลงท้ายน�้าจะต้อง
          ให้เป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติงานเฉพาะทางดังเช่น ประเทศที่พัฒนา ไม่เกินความจุของล�าน�้าท้ายอ่างเก็บน�้า ส�าหรับอ่างเก็บน�้าขนาด

          แล้วได้ถือปฏิบัติกันมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 50 ปี ส�าหรับตัวอย่าง กลาง เสนอแนะให้ใช้อุทกภัยรอบ 50 ปี และที่ปลายฤดูฝนต้อง
          ในประเทศไทยที่เป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติงานเฉพาะทางได้แก่กรม พยายามยกระดับน�้าในอ่างขึ้นให้ใกล้เคียงกับระดับเก็บกักน�้าของ
          ทางหลวง ซึ่งได้ปฏิรูปหน่วยงานให้เป็นหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน อ่างให้ได้มากที่สุด (ถ้าอ่างเก็บน�้าใดไม่สามารถท�าได้ เสนอแนะ
          เฉพาะทางมาได้เกือบ 10 ปีแล้ว                       ให้ศึกษาเพื่อปรับปรุงอ่างเก็บน�้า) กรณีศึกษาของอ่างเก็บน�้าเขื่อน
                                                             อุบลรัตน์มีอยู่ในหนังสือชลศาสตร์ประยุกต์ของผู้เขียน หน้า 557
                                                                    3.2) จากนั้นศึกษาหากราฟส�าหรับค�านวณหาพื้นที่
          6. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้า                เพาะปลูกฤดูแล้งท้ายอ่างด้วยแบบจ�าลอง (Dry Season Area

                                                             Reduction Curve – DSAR Curve) โดยจะต้องเก็บข้อมูลจาก
            การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะ แปลงทดลองของระบบชลประทานในสนามมาสอบเทียบแบบ
          การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าด้วยมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง จ�าลองด้วย ถ้าสามารถค�านวณได้ถูกต้อง และใช้กราฟนี้ค�านวณ
          เป็นมาตรการหลักและมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างเป็นมาตรการเสริม  หาพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้งแล้วน�้าจะไม่แห้งอ่างในระยะยาว และที่

          ซึ่งประกอบด้วย                                     ต้นการเพาะปลูกฤดูฝนถ้าฝนเกิดตกช้าก็มีน�้าให้เตรียมแปลงเพาะ
            1)  การค�านวณหาปริมาณน�้าที่ไหลผ่านอาคารควบคุมน�้าจะ ปลูกข้าว และกราฟนี้ (DSAR Curve) จะต้องมีการทบทวนการ
          ค�านวณหาโดยเปิดบานประตูควบคุมน�้าบางส่วนแล้ววัดปริมาณน�้า  ศึกษาเมื่อใช้งานไปได้ประมาณ 6-7 ปี หรือเมื่อมีข้อมูลใหม่มากพอ
          ที่ไหลผ่านแต่ละกรณี แล้วน�าข้อมูลมาสร้างกราฟส�าหรับค�านวณ        3.3) จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วย
          หาปริมาณน�้าที่ไหลผ่าน (Structure Calibration Curve)   แบบจ�าลอง โดยใช้ระบบท�านายปริมาณน�้าที่ไม่สามารถควบคุมได้
          มีรายละเอียดอยู่ในบทที่ 1 ในหนังสือชลศาสตร์ประยุกต์ของผู้เขียน  แต่น�ามาใช้แทนน�้าชลประทานได้รายสัปดาห์ เมื่อสัปดาห์ถัดไปมา
          (ไม่ใช่ค�านวณด้วยสูตร)                             ถึงก็ปรับให้ถูกต้อง แล้วด�าเนินการเช่นเดียวกันเรื่อย ๆ ไปจนสิ้น

            2)  แบบจ�าลองส�าหรับค�านวณหาความต้องการน�้าชลประทาน  สุดฤดูการเพาะปลูก โดยน�าข้อมูลจากแปลงทดลองในสนามมาใช้
          ผู้เขียนได้น�าแบบจ�าลองส�าหรับค�านวณหาความต้องการน�้า ในการค�านวณปริมาณน�้าที่ส่งด้วย และที่สิ้นสุดฤดูการเพาะปลูก
          ชลประทานที่เหมาะส�าหรับลักษณะการชลประทานในประเทศไทย  ก็จะค�านวณหาประสิทธิภาพชลประทานเพื่อน�าไปใช้อ้างอิงในการ



        14    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19