Page 17 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 17

รศ.ดร.สมิตร ส่งพิริยะกิจ

                         การออกแบบและการก่อสร้าง




                                     โครงสร้างคอนกรีตเสริม

            แห่งประเทศไทยฯ จะเผยแพร่คู่มือการออกแบบ คู่มือการใช้งาน และ GFRP







              ภายในปลายปีนี้  สาขาวิศวกรรมโยธา  วิศวกรรมสถาน


            คู่มือความปลอดภัยหลายเล่มด้วยกัน หนึ่งในคู่มือนั้นก็คือ “คู่มือ
            การออกแบบและก่อสร้างส�าหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมด้วย
            แท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใย (Fibre-reinforced Polymer Bar)”  คอนกรีตอัดแรง เหล็กจะผุกร่อนในระยะยาว โดยเฉพาะอย่าง
            ซึ่งอาศัย ACI440.1 R15 เป็นเอกสารอ้างอิงหลัก ความส�าเร็จ  ยิ่งในสภาวะเปิดเผยรุนแรง เช่น โครงสร้างในทะเล แท่ง GFRP

            ในการใช้ GFRP bar ในโครงสร้างคอนกรีตทั่วโลกในช่วงหลายปี  เป็นทางเลือกหนึ่งส�าหรับการเสริมแรงทดแทนเหล็ก
            ที่ผ่านมาได้แสดงให้เห็นว่าแท่ง GFRP สามารถน�าไปใช้ได้จริงและ  ในโครงสร้างคอนกรีต เนื่องจาก GFRP นั้นไม่ผุกร่อนจากปัญหา
            ใช้งานได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามวิศวกรผู้ใช้งานอาจจะยังไม่ แม่เหล็กไฟฟ้า นอกจากนี้ GFRP ยังมีคุณสมบัติอีกมากมาย เช่น
            คุ้นเคยกับการใช้งานวัสดุชนิดใหม่ ดังกล่าวจึงต้องระมัดระวัง  สามารถรับแรงดึงประลัยได้สูง พฤติกรรมเชิงกลของแท่ง GFRP
            ข้อจ�ากัดต่าง ๆ ซึ่งตามคู่มือฯ ก็จะได้แนะน�าให้ใช้งานได้โดย  จะแตกต่างจากพฤติกรรมของเหล็กเสริม หลักการออกแบบ
            ปลอดภัย  โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้าง แบบเดิมของโครงสร้างคอนกรีตจึงไม่สามารถใช้ได้โดยไม่ได้

                                                               ปรับปรุงค่าพารามิเตอร์หรือตัวคูณความปลอดภัย ให้สอดคล้อง
                                                               กับพฤติกรรมที่แตกต่างกัน แท่ง GFRP เป็นวัสดุที่รับแรงดึง
                                                               ได้สูงในทิศทางของเส้นใยเท่านั้น แต่รับแรงเฉือนและแรงยึด
                                                               เหนี่ยวได้ไม่ดี นอกจากนี้แท่ง GFRP ยังไม่มีจุดครากเหมือนเช่น
                                                               เหล็กเส้น ดังนั้นการออกแบบต้องค�านึงถึงความไม่เหนียวของ


































                                                                                                    วิศวกรรมสาร  17
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22