Page 13 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 13

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ




















                                                               มาศึกษาในโครงการ กก-อิง-น่าน โดยการผันน�้าจากแม่น�้ากก
                                                               จ.เชียงราย ผ่านแม่อิงในเขต จ.พะเยา แล้วผันน�้าผ่านอุโมงค์มา

                                                               ลงอ่างเก็บน�้าเขื่อนสิริกิติ์
                                                                  2) JICA จากประเทศญี่ปุ่น ได้ศึกษาเพื่อผันน�้าจากสาขาของ
                                                               แม่น�้าสาละวินที่อยู่ในประเทศไทยมาลงอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล
                                                                  3) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ศึกษาเพื่อ
                                                               ผันน�้าจากสาขาของแม่น�้าสาละวินที่อยู่ในประเทศไทยมาลงอ่าง

                                                               เก็บน�้าเขื่อนภูมิพล
                                                                  4) ผู้เขียนได้ศึกษาเบื้องต้นเพื่อผันน�้าจากลุ่มน�้าปายตอนบนมา
                                                               ลงแม่น�้าแม่แตง ซึ่งไหลลงแม่น�้าปิงเหนือที่ตั้ง จ.เชียงใหม่
                                                                 อนึ่งหลังจากวิกฤตความแห้งแล้งปี พ.ศ. 2536 ก็ยังมีการ
                                                               ก่อสร้างโครงการชลประทานทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ด้าน
                                                               เหนือน�้าของเขื่อนเจ้าพระยาโดยไม่ได้ศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างเป็น
                                                               ระบบลุ่มน�้า แต่ศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นโครงการ ๆ ไปดังตัวอย่าง

                                                               เช่น โครงการเจาะอุโมงค์เพื่อผันน�้าจากแม่น�้าแม่แตงไปยังแม่น�้า
                                                               ปิง และจากแม่น�้าปิงไปยังอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่งัดและจากอ่างเก็บ
                                                               น�้าเขื่อนแม่งัดไปยังอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่กวง ในเขต จ.เชียงใหม่ และ
                                                               จ.ล�าพูน ซึ่งทั้ง 2 อ่างอยู่เหนืออ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล ซึ่งปัจจุบัน
                                                               (กรกฎาคม 2563) มีปริมาตรอ่างว่างโดยเกณฑ์เฉลี่ยปีละเกือบ

                                                               4,000 ล้าน ลบ.ม. และโครงการเขื่อนผาจุกในเขต จ.อุตรดิตถ์
                                                               โดยก่อสร้างเขื่อนผันน�้าไปยังพื้นที่ชลประทานนับแสนไร่ ซึ่งเป็น
                                                               โครงการชลประทานลักษณะเดียวกันกับโครงการพิษณุโลกระยะ
                                                               ที่ 2 บนฝั่งซ้ายของแม่น�้าน่านที่ถูกยกเลิกไป นอกจากนี้ยังมี
                                                               โครงการชลประทานแม่วงก์ในเขต จ.นครสวรรค์ ซึ่งไม่ได้ศึกษา
            เหนือน�้า ฉะนั้นจึงท�าให้โครงการที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ไม่คุ้มค่าทาง อย่างเป็นระบบลุ่มน�้าแต่ศึกษาเป็นโครงการ ๆ ไป จึงไม่ผ่านการ

            เศรษฐกิจ และในปี พ.ศ. 2536 ได้เกิดวิกฤตความแห้งแล้งขึ้นใน พิจารณาทางด้านสิ่งแวดล้อม
            ลุ่มน�้าจนท�าให้กรุงเทพฯ ซึ่งอยู่ท้ายน�้าสุดเกือบขาดน�้าดิบในการ   จากรายละเอียดโดยย่อของการพัฒนาแหล่งน�้าเพื่อการ
            ผลิตน�้าประปา                                      ชลประทานทั้งโครงการขนาดกลางและขนาดใหญ่ในลุ่มน�้า
              จากวิกฤตความแห้งแล้งในลุ่มน�้าเจ้าพระยาในปี พ.ศ. 2536  เจ้าพระยาเหนือเขื่อนเจ้าพระยา ท�าให้เชื่อได้ว่า ถ้าเกิดวิกฤตความ
            ท�าให้เกิดการศึกษาเพื่อผันน�้าจากนอกลุ่มน�้าเข้ามาเพิ่มให้กับลุ่ม แห้งแล้งเช่น ปี พ.ศ. 2536 ขึ้นมาอีกในลุ่มน�้าเจ้าพระยาในอนาคต

            น�้าเจ้าพระยาซึ่งประกอบด้วย                        อันใกล้นี้ โอกาสที่กรุงเทพฯ จะขาดน�้าดิบในการผลิตน�้าประปาจึง
               1) ประเทศอังกฤษได้ให้บริษัทที่ปรึกษาจากประเทศอังกฤษ มีสูงมาก ๆ

                                                                                                    วิศวกรรมสาร  13
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18