Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 12

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ





























          ผู้เขียนมาช่วยในการศึกษาดังกล่าว  จ�านวน 3-4 คน ผล      แห่งประเทศไทย (กฟผ.)  ซึ่งใช้งานเขื่อนอุบลรัตน์อยู่
          การศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าชีอย่างเป็นระบบด้วยแบบ      ผลการประชุมร่วมกับผู้แทนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ  ซึ่ง
          จ�าลองพอสรุปได้ดังนี้                                   นอกจากจะเห็นด้วยกับผลการศึกษาแล้ว ยังเสนอแนะว่า

                     4.1) เพิ่มประสิทธิภาพโครงการพัฒนาแหล่ง       จะพัฒนาแบบจ�าลองส�าหรับท�านายปริมาณน�้าที่ไหลลงอ่าง
          น�้าที่มีอยู่เดิมและพัฒนาโครงการแหล่งน�้าขึ้นมาใหม่รวม    เก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์  ทั้งนี้เพราะเขื่อนอุบลรัตน์ใช้งานยาก
          4 โครงการ                                               ซึ่งปริมาตรอุทกภัยใหญ่แต่ละครั้งจะมากกว่าความจุของ
                     4.2) เสนอแนะให้ปรับเกณฑ์การใช้น�้าของ        อ่างเก็บน�้า ซึ่งผู้เขียนก็เห็นด้วยกับข้อเสนอแนะดังกล่าว
          อ่างเก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์ซึ่งเป็นอ่างเก็บน�้าที่ใหญ่ที่สุด     อนึ่งเมื่อสิ้นสุดการศึกษา กรมพัฒนาและส่งเสริม
          ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความจุที่ระดับเก็บกัก 2,263   พลังงานได้ตั้งงบประมาณเพื่อขอให้ศึกษาต่อเฉพาะลุ่มน�้าชี

          ล้านลบ.ม. ถ้าใช้เกณฑ์ใหม่นี้ผลประโยชน์ที่จะได้รับเพิ่มขึ้น  แต่ส�านักงบประมาณไม่อนุมัติ  เพราะกรมจะถูกยุบอยู่แล้ว
          ประกอบด้วย                                              มิฉะนั้นท่านทั้งหลายก็จะได้เห็นการจัดการน�้าอย่างเป็น
                        -  ในฤดูฝนเมื่ออุทกภัยรอบ 100 ปี          ระบบลุ่มน�้าทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือและการระบายน�้า
          (100 ปีมีโอกาสเกิด 1 ครั้ง) ไหลผ่านอ่างเก็บน�้า ปริมาณ  จากอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ในช่วงเกิดอุทกภัยลงมาท่วมพื้นที่
          น�้าที่ระบายลงท้ายน�้าไม่เกินความจุของล�าน�้าพอง (400   ท้ายอ่างในเขต จ.นครราชสีมา ในเดือนตุลาคม 2563 ก็จะ

          ลบ.ม. ต่อวินาที)                                        ลดน้อยลงหรือไม่เกิดน�้าท่วมเลยดังกรณีศึกษาของเขื่อน
                        -  ได้ศึกษาหากราฟส�าหรับค�านวณหา          อุบลรัตน์
          พื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้ง (Dry Season Area Reduction
          Curve- DSAR Curve) ของอ่างเก็บน�้าเขื่อนอุบลรัตน์ ถ้าใช้
          กราฟที่ศึกษาได้มาค�านวณหาพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้งแล้ว     4. การจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา
          น�้าจะไม่แห้งอ่างในระยะยาว และที่ต้นการเพาะปลูกฤดูฝน      หลังปี พ.ศ. 2525

          ถ้าฝนเกิดตกช้าก็จะมีน�้าให้เตรียมแปลงเพาะปลูกข้าว
          จากผลการศึกษาดังกล่าวจะท�าให้ได้พื้นทีเพาะปลูกฤดูฝน       ในการพัฒนาแหล่งน�้าเพื่อการชลประทานในลุ่มน�้า
          เพิ่มขึ้นโดยเกณฑ์เฉลี่ยปีละ 79,000 ไร่ และพื้นที่เพาะ   เจ้าพระยาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 เป็นต้นมา ทั้งโครงการขนาด
          ปลูกฤดูแล้งเพิ่มขึ้นโดยเกณฑ์เฉลี่ยปีละ 120,000 ไร่ จาก  กลางและขนาดใหญ่ได้ศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นโครงการฯ โดย
          ข้อมูลทางอุทกวิทยาที่น�ามาใช้ในการศึกษา 38 ปี อนึ่งทาง  ไม่ได้ศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างเป็นระบบลุ่มน�้าตามที่บริษัท

          กรมพัฒนาฯ และภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน�้าจุฬาฯ ก็เห็น       เอเคอร์ได้ศึกษาไว้ จึงท�าให้เกิดการย้ายการใช้น�้าเพื่อการ
          ด้วยกับผลการศึกษา และทางกรมฯ ได้ขอให้ทางบริษัทได้       เพาะปลูกฤดูแล้งจากโครงการชลประทานเจ้าพระยาซึ่ง
          น�าผลการศึกษาไปชี้แจงกับผู้แทนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต       อยู่ท้ายน�้าสุดไปยังโครงการที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ทางด้าน


        12    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17