Page 139 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 139
ทำ�ให้เด็กและเย�วชนเกิดคว�มเชื่อมั่นกระทำ�พฤติกรรมสร้�งสุขภ�พขึ้นได้ ส่งผล
ทำ�ให้เกิดก�รพัฒน�สุขภ�วะในเด็กและเย�วชนศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชน
สิรินธร ต�มแบบประเมินหลังก�รทำ�กิจกรรม ซึ่งเป็นไปต�มกรอบแนวคิดทฤษฎี
ก�รรับรู้สมรรถนะในตนเอง (Bandura, 1997) ที่เชื่อว่�พฤติกรรมของคนเร�ไม่ได้
เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจ�กปัจจัยท�งสภ�พแวดล้อมภ�ยนอกเพียงอย่�งเดียว
แต่ต้องมีปัจจัยภ�ยในตัวบุคคล เช่น อ�รมณ์ (affective) คว�มนึกคิด ท�งปัญญ�
(cognitive) และปัจจัยท�งชีวภ�พของบุคคล (biography) เข้�ม�ร่วมด้วย สิ่งที่
กำ�หนดประสิทธิภ�พของก�รแสดงออกจึงขึ้นอยู่กับก�รรับรู้สมรรถนะแห่งตน
ในสภ�วก�รณ์นั้น ๆ ซึ่งบุคคลจะตัดสินใจแสดงพฤติกรรมออกม�นั้นเกิดจ�ก
2 องค์ประกอบ ก�รรับรู้สมรรถนะแห่งตน และคว�มค�ดหวังในผลลัพธ์ แต่ปัจจัย
ที่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลม�กที่สุดคือ ก�รรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งเป็นตัวกำ�หนด
คว�มคิด คว�มรู้สึกจูงใจให้บุคคลลงมือปฏิบัติจริง และเกิดผลลัพธ์ ดังนั้นก�รรับรู้
สมรรถนะแห่งตนจึงเป็นปัจจัยสิ่งสำ�คัญในก�รเพิ่มศักยภ�พคว�มส�ม�รถที่ทีมวิจัย
ประยุกต์ม�ใช้ในก�รวิจัยปฏิบัติก�รเพื่อพัฒน�สุขภ�วะเด็กและเย�วชนในศูนย์ฝึก
และอบรมเด็กและเย�วชนสิรินธร ซึ่งอ�ศัยปัจจัยทั้งประสบก�รณ์แทนจ�กก�รสอน
และก�รดูภ�พ ให้เด็กและเย�วชนร่วมกิจกรรมทั้งภ�คทฤษฎีและภ�คปฏิบัติ หรือ
ก�รลงมือปฏิบัติจนเกิดประสบก�รณ์ตรงด้วยตนเอง ก�รสนับสนุนส่งเสริมจ�ก
สังคมรอบตัว และก�รสะท้อนกลับท�งสรีระ เพื่อสร้�งคว�มเชื่อมั่นว่�ตนเองจะ
กระทำ�พฤติกรรมสร้�งสุขภ�วะทั้ง 4 มิติได้ ซึ่งนำ�ไปสู่ก�รแสดงพฤติกรรมสร้�งเสริม
สุขภ�วะทั้ง 4 ด้�นต่อไป คือ ก�รเลือกบริโภคอ�ห�รสุขภ�พ ก�รออกกำ�ลังก�ย
เพื่อสุขภ�พ ก�รจัดก�รคว�มเครียดเชิงบวก ก�รลด ละ เลิกบุหรี่ และก�รจัด
สิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่และกล�ยเป็นพฤตินิสัย ด้�นสุขภ�วะองค์รวมในที่สุด
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอจากการวิจัย
(1) ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนสิรินธรควรเพิ่มระยะเวล�ใน
ก�รจัดกิจกรรม และเพิ่มเนื้อห�รูปแบบกิจกรรมที่เข้�ใจง่�ยและสนุกสน�น น่�
สนใจ เพื่อให้เจ้�หน้�ที่นักวิช�ชีพในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเย�วชนสิรินธร
138 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research