Page 160 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 160

ร่างกาย จิตใจ และสังคม มิใช่เพียงแต่ปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น หรือ

            สภาวะความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสภาพความเป็นอยู่ทางสังคม ซึ่งมิใช่
            เพียงแต่การปลอดโรคหรือความทุพพลภาพ เท่านั้น (อ�าพล จินดาวัฒนะ. 2547: 13)
                     สรุปว่าในความหมายของ “สุขภาพ” ในปัจจุบันมีองค์ประกอบ 4 ส่วน
            ด้วยกันคือ
                     1. สุขภาพกาย หมายถึง สภาพที่ดีของร่างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆ
            อยู่ในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ท�างานได้ตามปกติและมีความสัมพันธ์

            กับทุกส่วนเป็นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีในการท�างาน
                     2. สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้มี
            จิตใจเบิกบานแจ่มใส มิให้เกิดความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัว
            เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความสุข
                     3. สุขภาพสังคม หมายถึง สภาวะที่ดีของปัญญาที่มีความรู้ทั่ว รู้เท่าทัน
            และความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่งความดีความชั่ว ความมีประโยชน์และ
            ความมีโทษ ซึ่งน�าไปสู่ความมีจิตอันดีงาม และเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

                     4. สุขภาพศีลธรรม หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุข
            สมบูรณ์สามารถ ปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดีและมีความสุข
                   2. ความส�าคัญของสุขภาพ สุขภาพเป็นสิ่งส�าคัญและจ�าเป็นยิ่งต่อความ
            เจริญงอกงามและพัฒนาการทุก ๆ ด้านในตัวบุคคล สุขภาพเป็นรากฐานที่ส�าคัญ
            ของชีวิต โดยเริ่มมาตั้งแต่มีการปฏิสนธิในครรภ์มารดาวัยทารก วัยผู้ใหญ่จนถึงวัยชรา

            สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เป็นพระพุทธสุภาษิตว่า “อโรคยา ปรมาลา ภา”
            ซึ่งแปลว่า “ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” พระพุทธภาษิตข้อนี้แม้แต่
            ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยังยอมรับนับถือกัน และเห็นพ้องต้องกันว่า
            “สุขภาพคือพรอันประเสริฐสุด (Health is the greatest blessing of all)”
            นอกจากนี้ยังมีสุภาษิตของชาวอาหรับโบราณกล่าวไว้ว่า “คนที่มีสุขภาพดี คือคนที่
            มีความหวัง และคนที่มีความหวังคือคนที่มีทุกสิ่งทุกอย่าง ( He who has health
            has hope and he who has hope has everything)” ซึ่งนั่นก็หมายความว่า

            สุขภาพจะเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทาง หรือหนทางซึ่งจะน�าบุคคลไปสู่ความสุขและ
            ความส�าเร็จต่างๆ นานาได้ ชีวิตเป็นสิ่งมีค่ายิ่งกว่าทรัพย์สินใด ๆ ทุกคนย่อมรักษา


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   159
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165