Page 164 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 164
ปรากฏการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพได้ จึงได้ปรับปรุง คัดลอก หรือให้นิยามมโนทัศน์ย่อย
เหล่านั้นใหม่ และได้น ารูปแบบใหม่ในปี ค.ศ.1987 ซึ่งมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
(Social Learning Theory) โดยได้กล่าวถึงความส าคัญของกระบวนการรับรู้ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
และเป็นการอธิบายพฤติกรรมที่กระท าอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจ าวัน ซึ่งรูปแบบ
การส่งเสริมสุขภาพที่ Pender เสนอในครั้งนี้ แสดงในภาพที่ 2 ดังนี้
ภาพที่ 2 รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของ Pender ใน ปี ค.ศ. 1987
ภาพที่ 2 รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของ Pender ใน ปี ค.ศ. 1987
(Pender’s Health Promotion Model ที่มา Pender, 1987: 58)
(Pender’s Health Promotion Model ที่มา Pender, 1987: 58)
จากภาพที่ 2 จะเห็นได้ว่า รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของ Pender ปี ค.ศ.
จากภาพที่ 2 จะเห็นได้ว่า รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของ Pender ปี ค.ศ.1987 ประกอบด้วยส่วนส าคัญ
1987 ประกอบด้วยส่วนส�าคัญ 3 ส่วน ดังนี้
3 ส่วน ดังนี้
1. ปัจจัยด้านการรู้คิด-การรับรู้ (Cognitive-perceptual Factors)
เป็นปัจจัยปฐมภูมิซึ่งเป็น แรงจูงใจที่มีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติ และคงไว้ซึ่ง 23
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยย่อย 7 ปัจจัย ได้แก่
1.1 ความส�าคัญของสุขภาพ (The Importance of Health) การที่บุคคล
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 163
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research